๑) เสริมทักษะแก่กลุ่มองค์กรเครือข่ายให้มีความรู้ด้านความร่วมมือและการสื่อสารระหว่างองค์กร
๒) สร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการร่วมกัน
๓) เปิดพื้นที่ในการสื่อสารและนำข้อมูลและข้อเสนอแนะต่าง ๆ นำไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม
๔) สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรและสามารถที่จะทำงานร่วมกันในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
วิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานเครือข่ายเพื่อนัดหมาย วัน เวลา สถานที่ จัดประชุมและกำหนดรูปแบบกิจกรรม
- ร่างโครงการ ทำหนังสืออนุมัติหลักการ และเบิกจ่ายเงิน
- จัดส่งหนังสือเชิญการประชุม
- ดำเเนินการกิจกรรมต่าง ๆ และจัดเวทีสานเสวนา
- จัดทำสรุปผลการจัดเวทีการประชุม
ผู้รับผิดชอบโครงการ
๑) นายนัจมุดดีน อูมา ประธานศูนย์ประสานงานองค์การเอกชน จังหวัดนราธิวาส
๒) นายอัศว์มันต์ บินยูโซะ อาจารย์พิเศษวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส
๓) นาซาการียา บินยูซุฟ ประธานมูลนิธิพัษนาชุมชนเป็นสุข
๔) นายฆอซาลี อาแว เจ้าหน้าที่วิจัย สถาบันสิทธิมนุษยชนแะสันติศึกษา
๕) นายมูฮาหมัดอัณวัร หะยีเต๊ะ กลุ่มเยาวชนใจอาสา
องค์กรเครือข่าย
๑. เครือข่ายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง จังหวัดนราธิวาส
๒. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดนราธิวาส
๓. เครือข่ายเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเพื่อสันติภาพ
๔. สภาผู้แทนเกษตรกรแห่งชาติ
๕. ชมรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
๖. เครือข่ายครูสอนตาดีกา
๗. สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
๘. วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส
๙. ศูนย์ประสานงานองค์การเอกชน จังหวัดนราธิวาส
๑๐. สมาพันธ์เสริมสร้างความยุติธรรมและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
๑๑. ชมรมสังคมมีสุข จังหวัดนราธิวาส
๑๒. ชมรมนายกองค์ฏารบริหารส่วนตำบล จังหวัดนราธิวาส
๑๓. มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข
๑๔. กลุ่มเยาวชนใจอาสา
๑๕. เครือข่ายบัณฑิตเสริมสร้างการมีงานทำงาน
๑๖. สมัชชาสุขภาพจังหวัดนราธิวาส
๑๗. สมาคมลุ่มน้ำสตรี
๑๘. ศูนย์อำนวยการความยุติธรรม
๑๙. ศูนย์นราศรัทธาชน (ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส)
๒๐. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
๒๑. สมาคมอิสลามสุไหงโก-ลก
๒๒. ชมรมอิหม่ามสุไหงโก-ลก
๒๓. มูลนิธิตาดีกานราธิวาส (PUSAKA)
๒๔. มูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิม
๒๕. ศูนย์ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศวชต.)
๒๖. กลุ่มเพื่อนจำเลย
แนวคิด รศ.ดร.โคทม อารียา (สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัมหิดล)
สร้างเครือข่ายเพื่อการจัดการองค์วามรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจเป็นรูปแบบโรงเรียนเพื่อการเรียนรู้ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคประชาชน ความรู้มีมากมาย อาทิเช่น บนอินเทอร์เน็ต ฯลฯ เป็นต้น แต่เรายังขาดความรู้ในการจัดการ
แนวคิด อ.สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง (ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
สนับสนุนการจัดทำโรงเรียน และ vote ชื่อเป็น "โรงเรียนพัฒนากำปง" และสนับสนุนการใช้ IPTV เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของชุมชน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น