๑) ผู้นำชุมชน/ท้องถิ่น
ชื่อ -สกุล นายนรงค์ เจ๊ะนาแว
หมายเลขประจำตัวประชาชน 3960900007419
ปีงบประมาณที่สมัคร 2556
ตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน
ที่อยู่ 5/5 หมู่ที่ 1 ต.เกียร์ อ.สุคิริน
๒) รายชื่อชุมชน
ชื่อชุมชน บ้านเกียร์
ปีงบประมาณที่สมัคร 2556
สถานที่ทำการเครือข่าย หมู่ที่ 1 ต.เกียร์ อ.สุคิริน
ชื่อผู้ประสานงานเครือข่าย นายนรงค์ เจ๊ะนาแว
๓) กลุ่ม/องค์กรชุมชน
ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มสตรีบ้านเกียร์
ปีงบประมาณที่สมัคร 2556
สถานที่ทำการกลุ่ม หมู่ที่ 1 ต.เกียร์ อ.สุคิริน
ชื่อผู้ประสานงานกลุ่ม นางสุนีย์ เดชบุญ
๔) เครือข่ายองค์กรชุมชน
ชื่อเครือข่าย ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนตำบลเกียร์
ปีงบประมาณที่สมัคร 2556
สถานที่ทำการเครือข่าย หมู่ที่ 1 ต.เกียร์ อ.สุคิริน
ชื่อผู้ประสานงานเครือข่าย นายนรงค์ เจ๊ะนาแว
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ มชช. แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ มชช. แสดงบทความทั้งหมด
วันอังคารที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2556
มชช.อ.สุคิริน จ.นราธิวาส ปี ๒๕๕๖
วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556
ระบบมาตรฐานงานชุมชน
หลักการสำคัญ
1. การมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ ชุมชนเป็นผู้รับประโยชน์
2. ชุมชนมีความสมัครใจในการพัฒนาตนเอง
3. เป็นกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
4. เน้นความยืดหยุ่น สอดคล้อง เหมาะสมกับชุมชน
5.ความร่วมมือและการยอมรับเป็นเครื่องมือเชื่อมประสานการทำงานของภาคีการพัฒนา
6 หลักการสร้างสังคมคุณภาพ เพิ่มคุณค่า
7. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้นำชุมชน กลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชนและชุมชน ใช้เป็นเครื่องมือสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเองไปสู่ความเข้มแข็ง
2.เพื่อให้ภาคีการพัฒนาใช้เป็นเครื่องมือเชื่อมประสานการทำงานการพัฒนาศักยภาพชุมชนโดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ลักษณะมาตรฐาน
ลักษณะมาตรฐานงานชุมชน ทั้ง 4 ประเภท ประกอบด้วย “ด้าน” กับ”องค์ประกอบที่แสดงถึงคุณลักษณะที่ดีซึ่งสะท้อนภาวะผู้นำของผู้นำชุมชน และตัวชี้วัดความเข้มแข็งของกลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชมชน และชุมชน ซึ่งประเภทมาตรฐานงานชุมชน ทั้ง 4 ประเภท มีดังนี้
ประเภทที่ 1 มาตรฐานผู้นำชุมชน ประกอบด้วยภาวะผู้นำ 3 ด้าน 15 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านการบริหารตนเอง มี 4 องค์ประกอบ คือ
1.1 บุคลิกภาพดี: แสดงออกทางกาย วาจา ทำให้คนรอบข้างประทับใจ
1.2 ความรู้ ความสามารถ: พัฒนาตนเองจนเกิดความเชี่ยวชาญ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนอื่นได้
1.3 คุณธรรม ศีลธรรม และจริยธรรม: ปฏิบัติตามบรรทัดฐานอัดนงามของสังคมอย่างสม่ำเสมอ
1.4 วินัยในตนเอง: สามารถใช้เวลาของตนเองและรับผิดชอบต่อชีวิตส่วนตัวอย่างเหมาะสมตามอัตภาพ
2) ด้านการบริหารสังคม มี 4 องค์ประกอบ คือ
2.1 มนุษย์สัมพันธ์: รักษาความสัมพันธ์หรืออันเกื้อกูลระหว่างกันกับบุคคลประเภทต่าง ๆ
2.2 ความเป็นประชาธิปไตย: ประสานความเข้าใจ ประสานการรวมกลุ่ม ประสานกิจกรรม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
2.3 การประสานงานที่ดี: สามารถปรสานความเข้าใจ ประสานกิจรรม ประสานการวมกลุ่ม ก่อให้เกิดประโยชน์ที่เกื้อกูลกัน
2.4 การเป็นที่ปรึกษาที่ดี: สามารถแนะนำที่เหมาะสมกันในการแก้ไขปัญหา
3) ด้านการบริหารงาน มี 7 องค์ประกอบ คือ
3.1 การวางแผน: มีวิสัยทัศน์ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมในและภายนอกอย่างรอบคอบ รอบด้าน
3.2 การแก้ไขปัญหา
3.3 การบริหารงบประมาณ การเงิน บัญชี
3.4 การพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
3.5 การควบคุมและประเมินผล
3.6 การสร้างและการพัฒนาทีม
3.7 ความรับผิดชอบต่องาน: กล้าแสดงตนเป็นเจ้าของผลงาน เมื่อพบว่างานเกิดความผิดพลาด
ประเภทที่ 2 มาตรฐานกลุ่ม/องค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 14 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน กลุ่ม/องค์กรชุมชนที่ดำเนินงานได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีโครงสร้างและกระบวน การทำงานที่แสดงถึงการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อเกื้อหนุนให้เกิดการมี ส่วนร่วมของสมาชิกในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่ม/องค์กรชุมชนให้ไปสู่ ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง มี 4 องค์ประกอบคือ
1.1 คณะกรรมการ
1.2 ระเบียบข้อตกลง
1.3 สมาชิก
1.4 สถานที่ทำงานกลุ่ม
1.5 กระบวนการทำงาน
2) ด้านการบริหารเงินทุนและทรัพยากร กลุ่ม/องค์กรชุมชนที่ดำเนินการได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีการบริหารเงินทุนและ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และโปร่งใส สำหรับด้านนี้แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบคือ
2.1 การจัดหาเงินทุนและทรัพยากร
2.2 การจัดสรรและใช้ประโยชน์จากเงินทุนและทรัพยากร
2.3 การควบคุมการใช้ประโยชน์จากเงินทุนและทรัพยากร
3) ด้านการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร กลุ่ม/องค์กรชุมชนที่ดำเนินการได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีการเสริมสร้างการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากลุ่ม/องค์กรชุมชนอย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับ กลุ่ม/องค์กรอื่นๆ ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบคือ
3.1 การพัฒนาการเรียนรู้
3.2 การพัฒนาทุนทางสังคม
3.3 การเชื่อมโยงกับกลุ่ม/องค์กร
4) ด้านผลประโยชน์ต่อสมาชิกและชุมชน กลุ่ม/องค์กรชุมชนทีดำเนินการได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีการแบ่งปันผลประโยชน์ ต่อสมาชิกและชุมชนอย่างทั่งถึงเป็นธรรม และตอบสนองความต้องการตามระเบียบที่เห็นพ้องต้องกันของสมาชิก ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น ๓ องค์ประกอบคือ
4.1 การดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาของสมาชิก
4.2 การแบ่งปันผลประโยชน์ต่อสมาชิก
4.3 การจัดสวัสดิการต่อสมาชิกและชุมชน
ประเภทที่ 3 มาตรฐานเครือข่ายองค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 17 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน คุณลักษณะสำคัญของโครงสร้างและกระบวนการทำงานคือ มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน มีกระบวนการทำงานที่เชื่อมโยงไปสู่ภารกิจ และเป้าประสงค์ขององค์กรสมาชิก เนื่องจากคุณลักษณะข้างต้น จะช่วยขับเคลื่อนเครือข่ายไปสู่ผลสำเร็จร่วมกันได้ในที่สุด ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบ คือ
1.1 องค์กรสมาชิก
1.2 คณะกรรมการ/แกนนำ
1.3 การบริหารจัดการ
2) ด้านการบริหารงบประมาณและทรัพยากร มีการบริหารงบประมาณและทรัพยากร ทั้งที่เป็นความรู้และบุคลากร โดยยึด ๔ หลักการสำคัญ กล่าวคือ โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีวินัยในการหาและจัดสรรรายจ่ายให้สอดคล้องกับรายได้ มีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรสมาชิกสำหรับด้านนี้แบ่ง เป็น 5 องค์ประกอบคือ
2.1 โปร่งใส ตรวจสอบได้
2.2 ความมีวินัยทางการบริหารเงินทุน
2.3 ความมีประสิทธิภาพในการบริหารเงินทุน
2.4 การบริหารภูมิปัญญา/ฐานความรู้
2.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล
3) ด้านการพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่าย มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสั่งสมองค์ความรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง สามารถนำบทเรียนที่ได้มาใช้พัฒนาขีดความสามารถภายในองค์กรสมาชิกหรือเชื่อม โยงขยายผลไปสู่เครือข่ายอื่น อีกทั้งสามารถใช้บทเรียนความรู้ที่ได้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะของ องค์กรภาครัฐ ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น 4 องค์ประกอบคือ
3.1 การพัฒนาการเรียนรู้
3.2 การนำความรู้สู่นโยบายสาธารณะ
3.3 การขยายเครือข่าย
3.4 การเชื่อมโยงการทำงานเครือข่าย
4) ด้านผลประโยชน์ต่อสมาชิก/ชุมชน มีการจัดสรรผลประโยชน์ตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งเครือข่ายให้แก่องค์กร สมาชิกอย่างทั่วถึง เป็นธรรม การรวมตัวเป็นเครือข่ายส่งผลให้เกิดการผนึกพลังในการพิทักษ์ต่อรองผล ประโยชน์ขององค์กรสมาชิกอย่างสร้างสรรค์จนนำไปสู่บรรยากาศการทำงานที่แบ่ง ปันแก่ส่วนรวมเกื้อกูลและไว้วางใจกันระหว่างองค์กรสมาชิก โดยด้านนี้แบ่งเป็น 5 องค์ประกอบคือ
4.1 การจัดสรรผลประโยชน์
4.2 การแลกเปลี่ยนปัจจัยการผลิตระหว่างกัน
4.3 การมีพลังต่อรอง
4.4 การเกื้อหนุนประโยชน์ต่อชุมชน
4.5 การจัดสวัสดิการต่อสมาชิก
ประเภทที่ 4 มาตรฐานชุมชน ประกอบด้วย ลักษณะความเข้มแข็ง 7 ด้าน 21 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านเศรษฐกิจชุมชน มี 3 องค์ประกอบ คือ
1.1 ครัวเรือนสามารถพึ่งตนเองได้
1.2 การส่งเสริมอาชีพที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน
1.3 การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามความเหมาะสมของชุมชน
2) ด้านการจัดการทรัพยากรในชุมชน มี 3 องค์ประกอบ คือ
2.1 การบริหารทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม
2.2 การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมชุมชนที่ดี
2.3 ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพียงพอต่อความต้องการ
3) ด้านสุขภาพอนามัย มี 4 องค์ประกอบ คือ
3.1 ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสุขภาพจากการมีส่วนร่วมของชุมชน
3.2 การจัดการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
3.3 การป้องกันโรคประจำถิ่น (โรคติดต่อและไม่ติดต่อ)
3.4 ความสามารถในการดูแลและจัดการด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง
4) ด้านศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี มี 3 องค์ประกอบ คือ
4.1 การนับถือศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
4.2 การมีวิถีชีวิตแบ่งปันเอื้ออาทร
4.3 การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน
5) ด้านการพัฒนาคนในชุมชน มี 2 องค์ประกอบ คือ
5.1 การจัดการความรู้ของชุมชน
5.2 การพัฒนาผู้นำ/สมาชิกในชุมชน
6) ด้านการบริหารจัดการชุมชน มี 4 องค์ประกอบ คือ
6.1 การจัดการระบบฐานข้อมูลในชุมชน
6.2 การจัดทำแผนชุมชน
6.3 การจัดสวัสดิการภายในชุมชน
6.4 การเสริมสร้างการเมืองการปกครองตามระบบประชาธิปไตย
7) ด้านความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มี 2 องค์ประกอบ คือ
7.1 การป้องกันรักษาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
7.2 การป้องกันภัยธรรมชาติโดยชุมชน
กลไกการบริหารจัดการระบบ มชช.
จังหวัดสามารถกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการระบบ มชช.ที่เรียกว่า “คณะกรรมการระบบมาตรฐานงานชุมชนจังหวัด” และ “คณะกรรมการระบบมาตรฐานงานชุมชนอำเภอ”ได้ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ เช่น
คณะกรรมการฯ มาจากการสรรหา หรือการคัดเลือกของสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ในฐานะเจ้าภาพในการดำเนินงาน ซึ่งมีทั้งผู้แทนภาครัฐและภาคประชาชน ภาคเอกชน
คณะกรรมการฯ เป็นกลไกภาคประชาชน หรือเครือข่ายองค์กรภาคประชาชนที่มีการดำเนินการพัฒนาตามประเด็นงานที่สนใจ หรือภารกิจของเครือข่ายที่ต้องการพัฒนาสมาชิกโดยใช้ระบบ มชช. เช่น ศอช.จ. กพสจ. สมาคมอช.ผู้นำอช. ฯลฯ
คณะกรรมการฯ ที่มาจากการผสมผสานรูปแบบที่ 1 และ 2 หรือรูปแบบอื่นๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีผู้นำผ่านการเรียนรู้ ระบบ มชช. มากกว่า 10,000 คน ทั่วประเทศ ที่สามารถเป็นพี่เลี้ยง ที่ปรึกษา หรือเข้ามาเป็นกลไกการบริหารจัดการระบบ มชช.
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการดำเนินงาน มชช.
- ขั้นการเตรียมการ ประกอบด้วย การเตรียมข้อมูล/เนื้อหา เตรียมตนเอง เตรียมทีมงาน เตรียมงาน
- ขั้นดำเนินการ ประกอบด้วย การสมัคร การสร้างความเข้าใจ การวิเคราะห์ตนเอง การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างตัวชี้วัด การจัดทำแผนพัฒนาตนเอง และการดำเนินการตามแผน
- ขั้นประเมินผล ประกอบด้วย การประเมินผลด้วยตนเอง การประเมินผลโดยชุมชน/สมาชิก/คนรอบข้าง และการประเมินผลโดยคณะกรรมการ
- ขั้นยกย่อง เชิดชูเกียรติ เช่น มอบเข็ม ใบประกาศเกียรติคุณ
- ขั้นขยายผล เช่น จัดตั้งเครือข่ายการเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้ มชช.ต้นแบบ
หมายเหตุ
๑.ใบสมัครเข้าสู่ระบบ มชช. - กรมการพัฒนาชุมชน
๒.ความรู้เรื่อง มชช. - สถาบันการพัฒนาชุมชน - กรมการพัฒนาชุมชน
อ้างถึง: http://www3.cdd.go.th/bothong/home/index.php?option=com_content&view=article&id=25&Itemid=26
1. การมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ ชุมชนเป็นผู้รับประโยชน์
2. ชุมชนมีความสมัครใจในการพัฒนาตนเอง
3. เป็นกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
4. เน้นความยืดหยุ่น สอดคล้อง เหมาะสมกับชุมชน
5.ความร่วมมือและการยอมรับเป็นเครื่องมือเชื่อมประสานการทำงานของภาคีการพัฒนา
6 หลักการสร้างสังคมคุณภาพ เพิ่มคุณค่า
7. สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้นำชุมชน กลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชนและชุมชน ใช้เป็นเครื่องมือสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเองไปสู่ความเข้มแข็ง
2.เพื่อให้ภาคีการพัฒนาใช้เป็นเครื่องมือเชื่อมประสานการทำงานการพัฒนาศักยภาพชุมชนโดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ลักษณะมาตรฐาน
ลักษณะมาตรฐานงานชุมชน ทั้ง 4 ประเภท ประกอบด้วย “ด้าน” กับ”องค์ประกอบที่แสดงถึงคุณลักษณะที่ดีซึ่งสะท้อนภาวะผู้นำของผู้นำชุมชน และตัวชี้วัดความเข้มแข็งของกลุ่ม/องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชมชน และชุมชน ซึ่งประเภทมาตรฐานงานชุมชน ทั้ง 4 ประเภท มีดังนี้
ประเภทที่ 1 มาตรฐานผู้นำชุมชน ประกอบด้วยภาวะผู้นำ 3 ด้าน 15 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านการบริหารตนเอง มี 4 องค์ประกอบ คือ
1.1 บุคลิกภาพดี: แสดงออกทางกาย วาจา ทำให้คนรอบข้างประทับใจ
1.2 ความรู้ ความสามารถ: พัฒนาตนเองจนเกิดความเชี่ยวชาญ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนอื่นได้
1.3 คุณธรรม ศีลธรรม และจริยธรรม: ปฏิบัติตามบรรทัดฐานอัดนงามของสังคมอย่างสม่ำเสมอ
1.4 วินัยในตนเอง: สามารถใช้เวลาของตนเองและรับผิดชอบต่อชีวิตส่วนตัวอย่างเหมาะสมตามอัตภาพ
2) ด้านการบริหารสังคม มี 4 องค์ประกอบ คือ
2.1 มนุษย์สัมพันธ์: รักษาความสัมพันธ์หรืออันเกื้อกูลระหว่างกันกับบุคคลประเภทต่าง ๆ
2.2 ความเป็นประชาธิปไตย: ประสานความเข้าใจ ประสานการรวมกลุ่ม ประสานกิจกรรม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
2.3 การประสานงานที่ดี: สามารถปรสานความเข้าใจ ประสานกิจรรม ประสานการวมกลุ่ม ก่อให้เกิดประโยชน์ที่เกื้อกูลกัน
2.4 การเป็นที่ปรึกษาที่ดี: สามารถแนะนำที่เหมาะสมกันในการแก้ไขปัญหา
3) ด้านการบริหารงาน มี 7 องค์ประกอบ คือ
3.1 การวางแผน: มีวิสัยทัศน์ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมในและภายนอกอย่างรอบคอบ รอบด้าน
3.2 การแก้ไขปัญหา
3.3 การบริหารงบประมาณ การเงิน บัญชี
3.4 การพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
3.5 การควบคุมและประเมินผล
3.6 การสร้างและการพัฒนาทีม
3.7 ความรับผิดชอบต่องาน: กล้าแสดงตนเป็นเจ้าของผลงาน เมื่อพบว่างานเกิดความผิดพลาด
ประเภทที่ 2 มาตรฐานกลุ่ม/องค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 14 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน กลุ่ม/องค์กรชุมชนที่ดำเนินงานได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีโครงสร้างและกระบวน การทำงานที่แสดงถึงการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อเกื้อหนุนให้เกิดการมี ส่วนร่วมของสมาชิกในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่ม/องค์กรชุมชนให้ไปสู่ ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง มี 4 องค์ประกอบคือ
1.1 คณะกรรมการ
1.2 ระเบียบข้อตกลง
1.3 สมาชิก
1.4 สถานที่ทำงานกลุ่ม
1.5 กระบวนการทำงาน
2) ด้านการบริหารเงินทุนและทรัพยากร กลุ่ม/องค์กรชุมชนที่ดำเนินการได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีการบริหารเงินทุนและ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และโปร่งใส สำหรับด้านนี้แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบคือ
2.1 การจัดหาเงินทุนและทรัพยากร
2.2 การจัดสรรและใช้ประโยชน์จากเงินทุนและทรัพยากร
2.3 การควบคุมการใช้ประโยชน์จากเงินทุนและทรัพยากร
3) ด้านการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร กลุ่ม/องค์กรชุมชนที่ดำเนินการได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีการเสริมสร้างการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากลุ่ม/องค์กรชุมชนอย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับ กลุ่ม/องค์กรอื่นๆ ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบคือ
3.1 การพัฒนาการเรียนรู้
3.2 การพัฒนาทุนทางสังคม
3.3 การเชื่อมโยงกับกลุ่ม/องค์กร
4) ด้านผลประโยชน์ต่อสมาชิกและชุมชน กลุ่ม/องค์กรชุมชนทีดำเนินการได้อย่างมีมาตรฐานควรจะมีการแบ่งปันผลประโยชน์ ต่อสมาชิกและชุมชนอย่างทั่งถึงเป็นธรรม และตอบสนองความต้องการตามระเบียบที่เห็นพ้องต้องกันของสมาชิก ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น ๓ องค์ประกอบคือ
4.1 การดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาของสมาชิก
4.2 การแบ่งปันผลประโยชน์ต่อสมาชิก
4.3 การจัดสวัสดิการต่อสมาชิกและชุมชน
ประเภทที่ 3 มาตรฐานเครือข่ายองค์กรชุมชน ประกอบด้วยลักษณะความเข้มแข็ง 4 ด้าน 17 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน คุณลักษณะสำคัญของโครงสร้างและกระบวนการทำงานคือ มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน มีกระบวนการทำงานที่เชื่อมโยงไปสู่ภารกิจ และเป้าประสงค์ขององค์กรสมาชิก เนื่องจากคุณลักษณะข้างต้น จะช่วยขับเคลื่อนเครือข่ายไปสู่ผลสำเร็จร่วมกันได้ในที่สุด ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น 3 องค์ประกอบ คือ
1.1 องค์กรสมาชิก
1.2 คณะกรรมการ/แกนนำ
1.3 การบริหารจัดการ
2) ด้านการบริหารงบประมาณและทรัพยากร มีการบริหารงบประมาณและทรัพยากร ทั้งที่เป็นความรู้และบุคลากร โดยยึด ๔ หลักการสำคัญ กล่าวคือ โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีวินัยในการหาและจัดสรรรายจ่ายให้สอดคล้องกับรายได้ มีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรสมาชิกสำหรับด้านนี้แบ่ง เป็น 5 องค์ประกอบคือ
2.1 โปร่งใส ตรวจสอบได้
2.2 ความมีวินัยทางการบริหารเงินทุน
2.3 ความมีประสิทธิภาพในการบริหารเงินทุน
2.4 การบริหารภูมิปัญญา/ฐานความรู้
2.5 การบริหารทรัพยากรบุคคล
3) ด้านการพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่าย มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสั่งสมองค์ความรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง สามารถนำบทเรียนที่ได้มาใช้พัฒนาขีดความสามารถภายในองค์กรสมาชิกหรือเชื่อม โยงขยายผลไปสู่เครือข่ายอื่น อีกทั้งสามารถใช้บทเรียนความรู้ที่ได้มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะของ องค์กรภาครัฐ ซึ่งด้านนี้แบ่งเป็น 4 องค์ประกอบคือ
3.1 การพัฒนาการเรียนรู้
3.2 การนำความรู้สู่นโยบายสาธารณะ
3.3 การขยายเครือข่าย
3.4 การเชื่อมโยงการทำงานเครือข่าย
4) ด้านผลประโยชน์ต่อสมาชิก/ชุมชน มีการจัดสรรผลประโยชน์ตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งเครือข่ายให้แก่องค์กร สมาชิกอย่างทั่วถึง เป็นธรรม การรวมตัวเป็นเครือข่ายส่งผลให้เกิดการผนึกพลังในการพิทักษ์ต่อรองผล ประโยชน์ขององค์กรสมาชิกอย่างสร้างสรรค์จนนำไปสู่บรรยากาศการทำงานที่แบ่ง ปันแก่ส่วนรวมเกื้อกูลและไว้วางใจกันระหว่างองค์กรสมาชิก โดยด้านนี้แบ่งเป็น 5 องค์ประกอบคือ
4.1 การจัดสรรผลประโยชน์
4.2 การแลกเปลี่ยนปัจจัยการผลิตระหว่างกัน
4.3 การมีพลังต่อรอง
4.4 การเกื้อหนุนประโยชน์ต่อชุมชน
4.5 การจัดสวัสดิการต่อสมาชิก
ประเภทที่ 4 มาตรฐานชุมชน ประกอบด้วย ลักษณะความเข้มแข็ง 7 ด้าน 21 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ด้านเศรษฐกิจชุมชน มี 3 องค์ประกอบ คือ
1.1 ครัวเรือนสามารถพึ่งตนเองได้
1.2 การส่งเสริมอาชีพที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน
1.3 การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามความเหมาะสมของชุมชน
2) ด้านการจัดการทรัพยากรในชุมชน มี 3 องค์ประกอบ คือ
2.1 การบริหารทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม
2.2 การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมชุมชนที่ดี
2.3 ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพียงพอต่อความต้องการ
3) ด้านสุขภาพอนามัย มี 4 องค์ประกอบ คือ
3.1 ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสุขภาพจากการมีส่วนร่วมของชุมชน
3.2 การจัดการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
3.3 การป้องกันโรคประจำถิ่น (โรคติดต่อและไม่ติดต่อ)
3.4 ความสามารถในการดูแลและจัดการด้านสุขภาพได้ด้วยตนเอง
4) ด้านศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี มี 3 องค์ประกอบ คือ
4.1 การนับถือศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
4.2 การมีวิถีชีวิตแบ่งปันเอื้ออาทร
4.3 การอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน
5) ด้านการพัฒนาคนในชุมชน มี 2 องค์ประกอบ คือ
5.1 การจัดการความรู้ของชุมชน
5.2 การพัฒนาผู้นำ/สมาชิกในชุมชน
6) ด้านการบริหารจัดการชุมชน มี 4 องค์ประกอบ คือ
6.1 การจัดการระบบฐานข้อมูลในชุมชน
6.2 การจัดทำแผนชุมชน
6.3 การจัดสวัสดิการภายในชุมชน
6.4 การเสริมสร้างการเมืองการปกครองตามระบบประชาธิปไตย
7) ด้านความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มี 2 องค์ประกอบ คือ
7.1 การป้องกันรักษาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
7.2 การป้องกันภัยธรรมชาติโดยชุมชน
กลไกการบริหารจัดการระบบ มชช.
จังหวัดสามารถกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการระบบ มชช.ที่เรียกว่า “คณะกรรมการระบบมาตรฐานงานชุมชนจังหวัด” และ “คณะกรรมการระบบมาตรฐานงานชุมชนอำเภอ”ได้ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ เช่น
คณะกรรมการฯ มาจากการสรรหา หรือการคัดเลือกของสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ในฐานะเจ้าภาพในการดำเนินงาน ซึ่งมีทั้งผู้แทนภาครัฐและภาคประชาชน ภาคเอกชน
คณะกรรมการฯ เป็นกลไกภาคประชาชน หรือเครือข่ายองค์กรภาคประชาชนที่มีการดำเนินการพัฒนาตามประเด็นงานที่สนใจ หรือภารกิจของเครือข่ายที่ต้องการพัฒนาสมาชิกโดยใช้ระบบ มชช. เช่น ศอช.จ. กพสจ. สมาคมอช.ผู้นำอช. ฯลฯ
คณะกรรมการฯ ที่มาจากการผสมผสานรูปแบบที่ 1 และ 2 หรือรูปแบบอื่นๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันมีผู้นำผ่านการเรียนรู้ ระบบ มชช. มากกว่า 10,000 คน ทั่วประเทศ ที่สามารถเป็นพี่เลี้ยง ที่ปรึกษา หรือเข้ามาเป็นกลไกการบริหารจัดการระบบ มชช.
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการดำเนินงาน มชช.
- ขั้นการเตรียมการ ประกอบด้วย การเตรียมข้อมูล/เนื้อหา เตรียมตนเอง เตรียมทีมงาน เตรียมงาน
- ขั้นดำเนินการ ประกอบด้วย การสมัคร การสร้างความเข้าใจ การวิเคราะห์ตนเอง การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างตัวชี้วัด การจัดทำแผนพัฒนาตนเอง และการดำเนินการตามแผน
- ขั้นประเมินผล ประกอบด้วย การประเมินผลด้วยตนเอง การประเมินผลโดยชุมชน/สมาชิก/คนรอบข้าง และการประเมินผลโดยคณะกรรมการ
- ขั้นยกย่อง เชิดชูเกียรติ เช่น มอบเข็ม ใบประกาศเกียรติคุณ
- ขั้นขยายผล เช่น จัดตั้งเครือข่ายการเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้ มชช.ต้นแบบ
หมายเหตุ
๑.ใบสมัครเข้าสู่ระบบ มชช. - กรมการพัฒนาชุมชน
๒.ความรู้เรื่อง มชช. - สถาบันการพัฒนาชุมชน - กรมการพัฒนาชุมชน
อ้างถึง: http://www3.cdd.go.th/bothong/home/index.php?option=com_content&view=article&id=25&Itemid=26
ป้ายกำกับ:
มชช.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)