วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Why Do UK Lawyers Wear Wigs in Court?

Despite the modern, technologically advanced lifestyle of the United Kingdom, it still has its own unique culture. One aspect of the UK that is often called into question is the wigs that lawyers continue to wear to court, despite the absence of wigs in modern culture.
Wearing wigs is not in the law. Although all lawyers are expected to wear wigs, there is no written law that states that they have to. The reality is that wearing wigs is simply a matter of longstanding tradition, and the UK is proud of its traditions. However, there are many other cited reasons/theories that lawyers wear wigs in the UK courts.
Bringing the Court Self
One cited reason is that the courtroom is not a place for personalities. It is a place for the law. By wearing a wig, the solicitor is indicating that they have left their personal selves outside of the courtroom, and their lawyer self is the one that has arrived at the trial.
Preventing Biases
Legal proceedings are meant to be limited to the law. There is a belief that the slick hair of a good looking attorney could sway outcome of the trial. By putting on the wigs, the lawyer is able to ensure that their looks do not affect proceedings.
Impersonalizing
Similarly, the courts were not meant to be personalized. Wigs reduce the reason for the solicitor to pay much attention to their appearance, as though what they look like is important at a trial.
Wigs in the UK Courts
The primary reason for wigs in the UK courts is nothing more than tradition. But the reasons above have often been cited as secondary reasons that keep the tradition alive. It may be strange - and possibly a little silly - but these traditions have existed for centuries and have the added advantages of the reasons listed above.

Ref: http://voices.yahoo.com/why-uk-lawyers-wear-wigs-court-7292646.html

ประวัติความเป็นมาของวิก (The History of Wig)

คำว่า "วิก (wig)" มาจากภาษาฝรั่งเศส "(per)ruque" คือ ศีรษะที่มีเส้นผมที่ทำมาจากผมของม้า, ผมของมนุษย์, ขนแกะ, ขนแพะ, ขนนก, ขน กระบือ หรือไหมสังเคราะห์ นำมาสวมบนศีรษะเพื่อเป็นแฟชั่น เพื่อความสวยงาม หรือเหตุผลอื่นๆ ในการแต่งกาย รวมถึงการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรมด้วย
Photobucket

คำว่า "wig (วิก)" มาจากคำเต็มว่า "periwig" ซึ่งแปลว่า ผมปลอม และเริ่มปรากฏศัพท์ในภาษาอังกฤษในราวๆ ปี ค.ศ. 1675

บาง คนสวมวิกเพื่อปกปิดศีรษะล้าน หรืออาจใช้เป็นตัวช่วยลดความกังวลใจ และเป็นตัวเลือกที่มีราคาไม่แพงนักในการบำบัดฟื้นฟูผม วิกผมยังถูกนำมาใช้เป็นสิ่งเสริมในการแต่งกาย บางครั้งก็นำมาประกอบในพิธีกรรมทางศาสนา ส่วนนักแสดงนั้นจะเห็นบ่อยครั้งว่า นำวิกผมมาใช้เพื่อแสดงลักษณะนิสัยตัวละครได้ชัดเจนขึ้น

ประวัติของวิกผม
ชาว อียิปต์โบราณจะสวมวิกเพื่อปกปิดศีรษะล้าน วัฒนธรรมโบราณอื่นๆ รวมทั้งชาวอัสซีเรียน โพนิเชียน กรีก และโรมัน ก็ใช้วิกผมเช่นเดียวกัน วิกผมเป็นส่วนหนึ่งของฟอร์มชุดเดรสของชาวตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ ส่วนในฟากของตะวันออกไกลไม่ค่อยจะใช้ ยกเว้นโรงละครดั้งเดิมของประเทศจีนและญี่ปุ่น ผู้ที่มีอาชีพให้ความบันเทิงส่วนหนึ่งในฟากเอเชียตะวันออก (อย่างเช่น เกอิชาของญี่ปุ่น หรือ Kisaeng ของชาวเกาหลี) ก็จะสวมใส่วิกผม (วิกเกอิชาเรียกว่า Katsura ส่วนวิก Kisaeng จะเรียกว่า Gache) ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแต่งกายแต่ดั้งเดิม
หลัง จากช่วงตกต่ำในยุคจักรพรรดิโรมัน การใช้วิกของชาวตะวันตกก็ถูกระงับไปเป็นเวลาประมาณพันปี จนกระทั่งได้รับความนิยมขึ้นมาอีกครั้งในศตวรรษที่ 16 ที่ได้นำวิกมาใช้เพื่อปกปิดศีรษะล้าน หรือปรับบุคลิกภาพให้ดูดีขึ้น พวกเขาได้นำมาใช้เพื่อจุดประสงค์ที่เหมาะสมอื่นๆ ด้วย สภาพที่ไม่ถูกสุขอนามัยจะเป็นตัวดึงดูดเหา ปัญหาจะลดลงไปได้มากหากผมจากธรรมชาติถูกโกนออกและแทนที่ด้วยปอยผมสังเคราะห์ ซึ่งจะทำให้กำจัดเหาได้ง่ายดายขึ้น

Photobucket

พระราชวงศ์มีส่วนสำคัญในการฟื้นฟูการใช้วิกผม ควีนอลิซาเบธที่ 1 ของอังกฤษจะทรงสวมวิกสีแดง เป็นทรงดัดลอนอย่างวิจิตรบรรจงในสไตล์โรมัน ในขณะที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ.1601-1643) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ.1638-1715) เป็นผู้ริเริ่มการสวมวิกผมในหมู่ชายชาตรีตั้งแต่ยุคที่ 1620 เป็นต้นมา ผมปลอม (Peruke หรือ Periwig) สำหรับ ผู้ชายถูกนำเข้ามาในโลกของการพูดภาษาอังกฤษกับสไตล์ฝรั่งเศสอื่นๆ เมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ได้เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติอีกครั้งในปี ค.ศ.1660 หลังจากลี้ภัยไปประทับอยู่ประเทศฝรั่งเศส วิกเหล่านี้จะมีความยาวประมาณไหล่หรือยาวกว่านี้ เลียนแบบผมยาวซึ่งได้กลายมาเป็นแฟชั่นในหมู่ชายชาตรีตั้งแต่ยุค 1620 เป็นต้นมา ในไม่ช้าก็เป็นที่นิยมในศาลอังกฤษ นักจดบันทึกเหตุการณ์ชาวลอนดอนที่ชื่อว่า Samuel Pepys ได้ บันทึกวันหนึ่งในปี ค.ศ.1665 ไว้ว่า ช่างตัดผมโกนศีรษะของเขา และเขาก็ลองวิกผมปลอมหัวใหม่เป็นครั้งแรก แต่ในปีหนึ่งที่มีโรคระบาด มันไม่ง่ายนักที่จะสวมใส่มัน เพราะไม่มีใครจะกล้าซื้อเส้นผมใดๆ เนื่องจากกลัวว่าจะติดเชื้อ
Photobucket
วิกผมได้ กลายมาเป็นเครื่องแต่งกายตามเกณฑ์อย่างแท้จริงสำหรับผู้ชายอันแสดงถึง สถานะทางสังคม ช่างทำวิกเป็นอาชีพที่มีเกียรติมาก สมาคมช่างทำวิกถูกก่อตั้งขึ้นในฝรั่งเศสในปี ค.ศ.1665   ในไม่ ช้าในยุโรปก็ได้มีการพัฒนาและเลียนแบบอย่างของฝรั่งเศส อาชีพการทำวิกในศตวรรษที่ 17 นี้เป็นทักษะอย่างหนึ่งที่มีการประดิษฐ์อย่างวิจิตรบรรจงเป็นพิเศษ ปกคลุมไปถึงหลัง ไหล่ และหน้าอก ยังไม่พอเท่านั้น วิกเหล่านั้นทั้งหนักมาก มักสวมใส่ไม่สบายนัก และมีราคาแพง ตัวอย่างวิกผมที่ดีที่สุดคือ จะทำมาจากวิกผมคน ส่วนวิกจากผมม้าและแพะจะเป็นอีกตัวเลือกหนึ่งที่มีราคาย่อมเยากว่า
ใน ศตวรรษที่ 18 วิกผมชายจะถูกลงแป้งเพื่อให้เป็นสีขาวเฉพาะหรือออฟไวท์ ตรงกันข้ามกับความเชื่อโดยทั่วไป ผู้หญิงในศตวรรษที่ 18 จะไม่สวมวิกผม แต่จะสวม Coiffure หรือที่ปัจจุบันเราเรียกว่า Hair Extension (วิกผมต่อ) ส่วนบนสุดของผมจริงจะถูกแต่งด้วยผมปลอม หรือผมที่ไม่ใช่ผมของพวกเขาเอง ผู้หญิงส่วนใหญ่จะลงแป้งให้ผมเป็นสีเทา หรือสีฟ้าเทา และตั้งแต่ยุค 1770 เป็นต้นมา จะไม่มีการทำให้เป็นสีขาวสว่างอย่างของผู้ชาย แป้งสำหรับลงวิกทำจากผงแป้งอย่างดี มีกลิ่นหอมของดอกส้ม ลาเวนเดอร์ หรือรากออริส แป้งนี้มีสีม่วง ฟ้า ชมพู หรือเหลือง แต่ที่ใช้กันมากที่สุดคือสีออฟไวท์ วิกผมชายที่ลงแป้ง และผมจริงของผู้หญิงที่ลงแป้ง ได้กลายมาเป็นสิ่งสำคัญในโอกาสที่มีการแต่งชุดแบบเต็มยศจวบจนกระทั่งปลาย ศตวรรษที่ 18   การสวมวิกที่วิจิตรในพิธีราชาภิเษกของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ในปี ค.ศ.1761 ถูกล้อเลียนโดย William Hogarth ในภาพพิมพ์ที่ชื่อว่า Five Orders of Periwigs วิก ที่ลงแป้งและวิกต่อผมนั้นยุ่งเหยิง สวมใส่ไม่สะดวก และการพัฒนาของวิก (ที่ทำจากผมของม้า) ที่ใช้แป้งสีขาวธรรมชาติหรือสีออฟไวท์สำหรับผู้ชายนั้นจึงไร้ข้อกังขาถึงที่ มาของวิกผมที่เป็นส่วนหนึ่งเครื่องแต่งกายที่ใช้สวมใส่ในราชสำนักในปัจจุบัน นี้
Photobucket
ใน ยุค 1780 บรรดาชายหนุ่มก็เริ่มมีเทรนด์แฟชั่นการลงแป้งบางๆ บนผมจริง เช่นเดียวกับที่บรรดาสาวๆ เริ่มทำในยุค 1770 เป็นต้นมา บ่อยครั้งที่พวกเขาจะใช้ผมจริงของพวกเขาเอง ไม่ใช่วิก หลังจากปี ค.ศ.1790 ทั้งวิกและแป้งก็เป็นสิ่งที่สงวนไว้สำหรับชายสูงอายุหัวอนุรักษ์นิยม และสุภาพสตรีที่อยู่ศาล หลังจากปี ค.ศ.1790 บรรดาผู้หญิงแทบจะไม่มีการลงแป้งบนเส้นผมของพวกเธออีกต่อไป ในปี ค.ศ.1795 รัฐบาลอังกฤษเรียกเก็บภาษีแป้งที่ใช้ลงผมเป็นจำนวน 21 ชิลลิงต่อปี ภาษีนี้เป็นเหตุให้แฟชั่นวิกและแป้งมลายหายไปในปี ค.ศ.1800
ผู้หญิง ในศาลเมืองแวร์ซายส์ ประเทศฝรั่งเศส ช่วงกลางถึงปลายศตวรรษที่ 18 มักนิยมทรงผมที่ดูหัวโตๆ และมีความประณีต (อย่างเช่นทรงที่ม้วนอย่างหลวมๆ เป็นรูปเรือ) วิกผมต่อที่เซ็ตแล้วเหล่านี้ส่วนใหญ่จะหนักมาก เมื่อรวมกับขี้ผึ้งใส่ผม แป้ง และเครื่องประดับอื่นๆ Photobucket
ในปลายศตวรรษที่ 18 วิกผมต่อเหล่า นี้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความเสื่อมถอยของบรรดาขุนนางฝรั่งเศส ซึ่งยิ่งเป็นตัวเติมเชื้อการปฏิวัติฝรั่งเศสให้เกิดขึ้นอีกด้วย (แม้ว่าอิทธิพลของมันจะถูกกล่าวหาเกินจริงก็ตาม)

ระหว่างศตวรรษที่ 18 วิกผู้ชายถูกปรับให้ดูเล็กลงและดูเป็นทางการมากขึ้นในการนำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการแต่งกายในสาขาอาชีพต่างๆ  ธรรมเนียม นี้ได้คงอยู่ในระบบทางกฎหมายเล็กน้อย พวกเขาสวมใส่เป็นประจำในประเทศต่างๆ แห่งเครือจักรภพอังกฤษ จนกระทั่งในปี ค.ศ.1823 บิชอปของโบสถ์อังกฤษและไอร์แลนด์ได้นำวิกมาสวมใส่ในการประกอบพิธีกรรม ส่วนการสวมวิกของทนายความก็ได้รับการอนุมัติในช่วงปลายศตวรรษที่ 18   วิก ของผู้พิพากษา (ซึ่งในทุกวันนี้ใช้เป็นเครื่องแต่งกายที่ใช้ในราชสำนัก) สั้นเหมือนกับวิกของทนายความ (สไตล์ต่างกันเล็กน้อย) แต่เพื่อการตัดสินทางพิธีบางโอกาส และผู้พิพากษาระดับสูงจะสวมวิกแบบ full-bottomed wig

การสวมวิกเปรียบ เสมือนสัญลักษณ์หนึ่งที่บ่งบอกสถานะทางสังคมที่ถูกละเลยไปในการสร้างประเทศ สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสขึ้นมาใหม่ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 แม้ว่าจะมีการยืดเยื้อเรื่องนี้ต่อไปเล็กน้อยในประเทศอังกฤษ

ส่วน วิกของผู้หญิงได้พัฒนาในแนวทางที่แตกต่างออกไปบ้าง พวกเธอได้สวมมันอีกตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา แม้ว่าในช่วงแรกจะต้องหลบๆ ซ่อนๆ   ส่วนวิกแบบเต็มศีรษะ (Full wig) ในช่วงศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 ยังไม่เป็นที่นิยมนัก ผู้ที่สวมใส่วิกมักเป็นหญิงชราที่ศีรษะล้าน

ในภาพยนตร์เรื่อง Mr.Skeffington (ปี ค.ศ.1944) เมื่อ Bette Davis ต้องสวมวิกหลังจากป่วยเป็นโรคคอตีบอยู่พักหนึ่ง มันจึงเป็นช่วงที่น่าสงสาร และเป็นสัญลักษณ์ของความอ่อนแอของเธอ

------------------------------------
ประวัติความเป็นมาของวิก (The History of Wig) โดย We Cosplay อนุญาตให้ใช้ได้ตาม สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
อยู่บนพื้นฐานของงานที่ en.wikipedia.org.
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : http://en.wikipedia.org/wiki/Wig
ผู้ลงบทความ : We Cosplay

วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

โครงการส่งเสริมการให้บริการศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ปี ๒๕๕๗ อ.สุคิริน แบบ ๑

แผนปฏิบัติการโครงการส่งเสริมการให้บริการศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ปี ๒๕๕๗
ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากอำเภอสุคิริน  จังหวัดนราธิวาส


๑) ๒๘ พ.ย.๕๖ จัดทำแผนปฏิบัติการฯ และรายงานจังหวัดภายใน ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖   
สถานที่ดำเนินการ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสุคิริน   
๒) ๔ ธ.ค.๕๖ คัดเลือกผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP (กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา-Quadrant D ศูนย์ละ ๒๐ กลุ่ม ๆ ละ ๑ คน รวม ๒๐ คน   
สถานที่ดำเนินการ ห้องประชุมอำเภอสุคิริน   
๓) ๑๗ ธ.ค.๕๖ ประชุมเชิงปฏิบัติการ  ๑ วัน เพื่อสำรวจความต้องการด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และรายงานผลภายใน ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖   
สถานที่ดำเนินการ ห้องประชุมอำเภอสุคิริน   
๔) ๑๘ ธ.ค.๕๖ – ๓๐ เม.ย.๕๗ ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในการขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ภายใน ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗   
สถานที่ดำเนินการ ห้องประชุมอำเภอสุคิริน   
๕) ๑๘ ธ.ค.๕๖ – ๓๐ เม.ย.๕๗    ต้อนรับคณะติดตามการดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในการขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ระดับอำเภอ ภายใน ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗   
สถานที่ดำเนินการ ห้องประชุมอำเภอสุคิริน   
๖) ๑ – ๑๕ ส.ค.๕๗ ประเมินและสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ (แบบรายงาน ๔) ให้จังหวัดภายใน ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ ประกอบด้วย บันทึกการประชุมฯ รายละเอียดเนื้อหาวิชา สรุปผลการดำเนินงาน ชื่อวิทยากร/หน่วยงาน/เบอร์โทรศัพท์) ภาพถ่ายกิจกรรม แบบรายงานที่ ๑,๒,๔ แบบประเมินผลการดำเนินโครงการ   
สถานที่ดำเนินการ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสุคิริน   

วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

วิธีการนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method) และวิธีการอุปนัย/อุปมาน(Inductive Method)

วิธีการนิรนัย/อนุมาน(Deductive Method) และวิธีการอุปนัย/อุปมาน(Inductive Method) คืออะไร
ใครเคยสับสนกับคำว่า “นิรนัย” “อนุมาน” “อุปนัย” “อุปมาน” บ้างไหม ผู้เขียนเคยสับสนคำทั้งสี่คำนี้ เวลาอ่านตำราแต่ละเล่มจะใช้คำแตกต่างกัน  ถ้าใช้คำว่า  นิรนัย จะคู่กับ อุปนัย, ถ้าใช้คำว่า อนุมาน จะคู่กับ อุปมาน,  สรุปว่า นิรนัยหรืออนุมาน ก็คือ Deductive  ส่วน อุปนัย หรืออุปมาน ก็คือ Inductive  แต่ผู้เขียนคุ้นเคยกับคำว่าอนุมาน และอุปมาน มากกว่า  จะขอใช้คำทั้งสองคำนี้ในการคุยกันวันนี้  
พอจำคำศัพท์ได้จึงมาดูความหมาย ก็สงสัยว่าทำไมเราต้องรู้ความหมายของอนุมาน และอุปมาน  ถ้ารู้แล้วจะมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการวิจัยอย่างไร
การอนุมาน และการอุปมาน เป็นการแสวงหาความรู้ความจริงโดยใช้เหตุผลในการลงข้อสรุป  พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว(2529 : 6) ได้สรุปให้เข้าใจง่ายๆไว้ว่า  การสรุปโดยใช้เหตุผล เป็นวิธีการหนึ่งที่ทำให้ได้มาซึ่งความรู้  ที่มาของความรู้ มาได้ 4 ทาง คือ 1.จากประสบการณ์  2.จากเหตุผล  3.จากผู้รู้ และ 4.จากการหยั่งรู้
การสรุปแบบอนุมาน เป็นการใช้เหตุผลจากทฤษฎี หลักการ ไปลงข้อสรุป  เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้
  
ยกตัวอย่าง
                                ดอกไม้สีขาวมีกลิ่นหอม       (ความรู้เดิม หรือประโยคอ้าง)
                                ดอกมะลิมีสีขาว                      (ความจริงย่อย)
                                ดอกมะลิมีกลิ่นหอม               (ข้อสรุป)
ดังนั้น ข้อสรุปแบบอนุมาน จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อความรู้เดิมหรือประโยคอ้างเป็นจริง  จึงเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงว่า ในการวิจัย หากเราอ้างทฤษฎี หลักการที่ไม่เป็นจริง จะทำให้การลงข้อสรุปในการวิจัยไม่เป็นจริง เพราะ การวิจัย คือการแสวงหาความรู้ความจริงที่เป็นระบบ ที่ให้ผลที่เชื่อถือได้
การลงข้อสรุปจากหลักการหรือความจริง ที่นำมาเป็นประโยคอ้าง ต้องเป็นประโยคที่เป็นความจริง ไม่เช่นนั้นการลงข้อสรุปก็จะผิดพลาดไปด้วย   เช่น
ผู้หญิงทุกคนชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม             (ความรู้เดิม หรือประโยคอ้าง)
สร้อยระย้าเป็นผู้หญิง                                  (ความจริงย่อย)
สร้อยระย้าชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม                     (ข้อสรุป)
จะเห็นได้ว่าข้อสรุปนี้ไม่ถูกต้อง เพราะความรู้เดิมที่นำมาอ้าง ที่ว่าผู้หญิงทุกคนชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม ไม่เป็นความจริง ผู้หญิงไม่ได้ชอบซื้อสินค้าที่มีของแถมทุกคน
การสรุปแบบอุปมาน เป็นการสรุปจากความจริงย่อย เป็นประโยคอ้าง เพื่อลงข้อสรุปเป็นความจริงใหม่ ถ้าประโยคอ้างเป็นจริง ข้อสรุปนั้นมีแนวโน้มที่จะเป็นจริง เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้
 
ยกตัวอย่าง
แม่ชอบชื้อสินค้าที่มีของแถม             (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
พี่สาวชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม          (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
เพื่อนผู้หญิงชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม  (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
ป้าชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม                  (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
ผู้หญิงชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม            (ข้อสรุป)
การลงข้อสรุปแบบอุปมานนี้จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ความจริงย่อยที่นำมาอ้างนั้นเป็นความจริง ถ้ามองเชื่อมโยงถึงการวิจัย การสรุปแบบอุปมาน น่าจะใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพค่อนข้างมาก ดังนั้น ในการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ จะต้องใช้ความระมัดระวังให้ได้ข้อมูลจากพื้นที่การวิจัยที่แน่ใจว่าเป็นข้อมูลที่แท้จริง มิฉะนั้นจะส่งผลต่อการสรุปผลการวิจัย  ถ้าข้อมูลที่ได้มามิใช่ข้อมูลจริงการสรุปผลก็จะผิดพลาดไปด้วย
ถ้ามีข้อคิดเห็นอื่นๆ ก็เขียนมาแลกเปลี่ยนกันนะคะ
อ้างอิง พรศักดิ์  ผ่องแผ้ว(2529). ศาสตร์แห่งการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
Ref: http://www.gotoknow.org/posts/370363

Deduction & Induction

In logic, we often refer to the two broad methods of reasoning as the deductive and inductive approaches.
Deductive reasoning works from the more general to the more specific. Sometimes this is informally called a "top-down" approach. We might begin with thinking up a theory about our topic of interest. We then narrow that down into more specific hypotheses that we can test. We narrow down even further when we collect observations to address the hypotheses. This ultimately leads us to be able to test the hypotheses with specific data -- a confirmation (or not) of our original theories.
Inductive reasoning works the other way, moving from specific observations to broader generalizations and theories. Informally, we sometimes call this a "bottom up" approach (please note that it's "bottom up" and not "bottoms up" which is the kind of thing the bartender says to customers when he's trying to close for the night!). In inductive reasoning, we begin with specific observations and measures, begin to detect patterns and regularities, formulate some tentative hypotheses that we can explore, and finally end up developing some general conclusions or theories.
These two methods of reasoning have a very different "feel" to them when you're conducting research. Inductive reasoning, by its very nature, is more open-ended and exploratory, especially at the beginning. Deductive reasoning is more narrow in nature and is concerned with testing or confirming hypotheses. Even though a particular study may look like it's purely deductive (e.g., an experiment designed to test the hypothesized effects of some treatment on some outcome), most social research involves both inductive and deductive reasoning processes at some time in the project. In fact, it doesn't take a rocket scientist to see that we could assemble the two graphs above into a single circular one that continually cycles from theories down to observations and back up again to theories. Even in the most constrained experiment, the researchers may observe patterns in the data that lead them to develop new theories.

Ref:  http://www.blogger.com/blogger.g?blogID=584394146619480858#editor/target=post;postID=5335110696162803096

วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Timely Issues for Research in Economics

UK Economy
1. Energy prices and economy
2. Policy rules for economic stability and growth
3. Reform in public policy: tax, spending, trade, regulations, redistribution
4. Can tax cuts finance budget deficit? (endogenous growth model)
5. Productivity growth in manufacturing and services sectors
6. Human capital, research and development and economic growth
7. Reasons for decline in public sector investment over years
8. Role of public and private sector in funding of education and health sectors
9. Impact of volatility of exchange and interest rate on exports
10. Unemployment and inflation: in the long and the short run
11. Two speed economy: growth of income of skilled and unskilled workers
12. Provision for pension and social security
13. Impact in the economy of rising oil and energy prices
14. Liberalisation of the financial sector and private sector investment
15. Regulations of market for certain products (e.g. carpets, mobile phones, banana, cars,
cosmetics, drugs, cloths, furniture, nursing home, houses,)
16. Arguments for and against privatisation of semi-public goods (i.e. railways, airlines,
telecommunications)
17. Determinants of wage and earning by professions, skills and regions
18. Wage and income of sport clubs and top quality sport men and women
19. Factors contributing to variation in growth of regional and local economies
20. Equity and redistribution aspects of council tax, income tax or direct and indirect taxes
21. Can growth occur with redistribution
22. New deal and public and private sector partnership
23. Role of demand side and supply side policies in the economy
24. Patterns of consumption and saving by categories of households
25. Employment and output multipliers with Input-output model of the UK economy
26. Assessment of the reliability of macroeconomic forecasts
27. London Stock Exchange and global economy
28. Evaluation of economic costs and benefits of environmental levy
Economic Growth and Development Issues
29. Why the four-fifth of the World is still underdeveloped?
30. Why there is a North-South divide in per-capita income?
31. Story of productivity growth: impact of industrial to internet revolutions
32. Examination of poverty alleviation and economic growth
33. How much can human capital contribute towards economic growth?
34. Problems in transfer and adoption of technology
35. Why cannot all countries grow at the same rate?
36. What is the best technology to achieve higher rate of growth?
37. Balanced versus unbalanced growth
38. Does economic growth promote economic inequality?
39. Do higher environmental standards reduce the rate of growth?
40. Conflict, coalition and economic growth
41. Economic costs of conflicts and HIV in Africa
42. How much spending on research and development promote economic growth?
43. Infrastructure and economic growth.
Macroeconomic issues
44. Why are Keynesian models applicable more in some countries than in others?
45. Why the rates of unemployment are higher in rigid labour markets?
46. Examination economic problems when savings are not equal to investment
47. Should households save more to make economy grow faster?
48. Resource imbalances and economic crises
49. First, second and third theories of economic crises.
50. What are the best policy rules for stability and growth?
51. Trade-off between unemployment and inflation?
52. Can independent central banks do better than government controlled ones?
53. How can exchange rate instability be harmful for an economy?
54. Credibility of public policy and market reactions
Microeconomic issue
55. Determinants of consumption and saving.
56. Are consumers sovereign in market for goods and services?
57. Income and substitution effects of price changes
58. Analysis of short and long run cost of a certain firm or industry
59. Consequences of factor and product taxes in a competitive market.
60. Impacts of new technology in costs of production and supply.
61. Market imperfections, inefficiency and regulation
62. Is there any evidence for income and substitution effects in agriculture, manufacturing or
engineering sectors?
63. What are the welfare consequences of duopoly or oligopoly in the energy markets?
64. Does deregulation and privatisation bring efficiency in allocation of resources?
65. Analysis of expenditure pattern of households
66. How elasticities of supply and demand affect the burden to a consumer?
67. Examination of benefits and costs of privatisation
68. Application of utility maximisation hypothesis under uncertainty.
Trade issues
69. Examination of Tariff and non-tariff barriers of trade
70. Does global free trade reduce or increase income and wage inequality?
71. Does the direct foreign investment promote economic growth?
72. Who benefits and who loses from regional economic cooperation?
73. Assessment of impact of increase in oil prices in the global income
74. Enlargement of EU and Economic prospects of its new members
75. How can liberal trade reduce pressure of illegal immigration to rich countries?
76. Evaluation of achievements of the WTO and the Doha rounds of trade talk
77. Leontief paradox or factor price equalisation?
Public Policy issues
78. Should budget be balanced all the time?
79. Should government subsidise education or pay more unemployment benefit?
80. How can budget deficit create external and internal imbalances?
81. Can lower taxes reduce budget deficit?
82. Does the Ricardian equivalence apply in modern economies?
83. Examination of optimal tax rate and evidence
84. Optimal amount of public services?
85. Optimal allocation of public funds between local and central authorities
Households and labour market
86. Why current economic policies have created pension crisis in the West?
87. Income dynamics and life-cycle profiles of income
88. Determinants of wage and labour supply
89. Gender inequality in wage and earning
90. Link between educational qualification and earning
91. New technology, redundancy and structural transformation of labour market
92. Social safety net and unemployment: re-examination of Beveridge provisions.
Environment and natural resources
93. Economic impacts of Kyoto agreement
Keshab Bhattarai, Research Methods, HUBS 6
94. Consumption and production side externalities and social welfare
95. Double dividend hypothesis of environmental taxes
96. Do tight environmental regulations reduce economic growth?
97. Valuation and optimal use of non-renewable resources
Financial market and economy
98. Over or under investment, Value of a firm and the optimal stock of capital
99. Why banks tend to accumulate non-performing debt with weak monitoring?
100.Best way of financing economic development.
101.Analysis of risks and return in the financial market?
102.Volatility of financial markets and economy
103.Can Tobin tax (transaction cost) deter financial crisis?
Education economics
104.Impacts of universal primary education in skill formation
105.Who should pay tuitions: students or the government?
106.Matching education and job market
Country specific studies
107.Analysis of markets using microeconomic models
108.Model for macroeconomic policy evaluation and forecasting
109.Evaluation of impacts of tax reforms
110.Forecasting various policy scenarios
111.Movement in commodity prices and terms of trade
Commodity Markets:
112.agricultural goods: sugar, potato, cotton, rubber, green vegetables, tomato
113.fruit: apples, banana, pears, grapes, oranges, mango, jackfruit , coconut, nuts
114.grains: rice, corn, millet, wheat, maize, palm oil, peanuts
115.meat market: fish, beef, pork, lamb
116.drinks: wine, beer, whiskey, martini
117.metals and minerals: gold, silver, aluminium, steel, iron, copper, tin, zinc, oil
Uncertainty and asymmetric information
118.risks and uncertainty and markets for insurance
119.moral hazards and adverse selection
120.principle agent problem and monitoring
121.efficient contract and incentives
122.provisions for contingency
Energy sectors
123.Energy prices and trade in the global economy
124.Generation and distribution of electricity and pollution
125.Kyoto agreement on climate change
126.Trade-off between trade and environment
127.OPEC effect on oil and energy prices
128.Renewable energy and exhaustion of non-renewable energy
129.Fuel poverty
130.Role of energy sector in the growth of economy
131.Technological factors in promotion of the energy sector

Ref: Keshab Bhattarai, Research Methods, HUBS, p2-6, THE BUSINESS SCHOOL Research Methods For Economists

วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ประเด็นการหารือการพัฒนาอำเภอสุคิริน ในส่วนของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอและจังหวัด



ประเด็นการหารือการพัฒนาอำเภอสุคิริน
วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔.๐๐ น.
ณ อบต.สุคิริน อ.สุคิริน จ.นราธิวาส
--------------------------

ในส่วนของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสุคิรินและสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนราธิวาส เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
๑) ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ที่สำคัญในพื้นที่
อำเภอสุคิรินมีผู้ประกอบการทั้งสิ้น ๑๙ กลุ่ม/ราย ได้แก่
๑. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านซอยปราจีน หมู่ที่ ๑๑ ต.สุคิริน ประธานกลุ่ม คือ นางนราพรรณ พีระธรณิศร์
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ กล้วยกรอบแก้ว, หมี่กรอบ เป็นผลิตภัณฑ์ระดับ ๔ ดาว
๒. นายแดง สุขสำราญ บ้านเลขที่ ๘๕ หมู่ที่ ๑๑ ต.สุคิริน
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ไม้กวาดดอกหญ้า เป็นผลิตภัณฑ์ระดับ ๒ ดาว                          
๓. นายอุสแมน มะลี บ้านเลขที่ ๙๑ หมู่ที่ ๓ ต.เกียร์  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ เลียงร่อนทอง
๔. กลุ่มผู้สูงอายุบ้านสายเอก บ้านเลขที่ ๒๕/๗ หมู่ที่ ๖ ต.มาโมง ประธานกลุ่ม คือ นางอำมร ชูเจริญ 
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ดอกไม้ประดิษฐ์จากผ้าใยบัว
๕. นายไพฑูลย์ แก้วหาญ บ้านเลขที่ ๔๐ หมู่ที่ ๕ ต.สุคิริน  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้หัวล้าน เตียงนอน รากไม้
๖. นางกรณิศ พงศ์ชูศรี บ้านเลขที่ ๙๘/๔๙ หมู่ที่ ๒ ต.สุคิริน  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ดอกไม้ประดิษฐ์จากผ้าใยบัว
๗. นางเสงี่ยม คงประดิษฐ์ บ้านเลขที่ ๙๐/๒ บ้านไอกาบู หมู่ที่ ๑ ต.สุคิริน  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ดอกไม้จันทน์ พวงหรีด
๘. นางสลักจิต โฉมอุไพ บ้านเลขที่ ๓๖ หมู่ที่ ๒ ต.สุคิริน  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ เค้กใบเตย ขนมปังไส้ต่าง ๆ
๙. นายดวง สรงวารี บ้านเลขที่ ๒๙/๕๗ หมู่ที่ ๖ ต.สุคิริน  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ อุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์ใช้ภายในบ้าน
๑๐. นางชัยนุง เจ๊ะโซ๊ะ บ้านเลขที่ ๒๘/๒ หมู่ที่ ๓ ต.เกียร์  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ชุดละหมาดสตรี ฮิญาบ ผ้าคลุมผม เป็นผลิตภัณฑ์ระดับ ๓ ดาว
๑๑. ปารีย์สกรีน ประธานกลุ่ม คือ นายมุนี เจ๊ะโซ๊ะ บ้านเลขที่ ๑๗ หมู่ที่ ๓ ต.มาโมง  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ สกรีนเสื้อ สกรีนผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ
๑๒. นางดรุณี บือราเฮง บ้านเลขที่ ๑๒๖ หมู่ที่ ๖ ต.มาโมง  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ยาหม่อง ขนมปุยฝ้าย
๑๓. ปักษ์ใต้โคมลอย ประธานกลุ่ม คือ นางอุ่นใจ สงนาวา บ้านเลขที่ ๔๓ หมู่ที่ ๓ ต.สุคิริน  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ โคมลอย
๑๔. กลุ่มสตรีปักจักรบ้านราษฎร์พัฒนา ประธานกลุ่ม คือ นางปาตีเมาะ เจ๊ะอามิ
บ้านเลขที่ ๒๗/๖ หมู่ที่ ๙ ต.มาโมง  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ผ้าละหมาด ฮิญาบ และผ้าคลุมผม
๑๕. กลุ่มเยาวชนเฟอร์นิเจอร์ ประธานกลุ่ม คือ นายซอบรี เจ๊ะโซ๊ะ บ้านเลขที่ ๕๐/๓ หมู่ที่ ๔ ต.ร่มไทร  
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ เก้าอี้ โต๊ะ เตียงนอน
๑๖. นายสุชาติ ทองสุข บ้านเลขที่ ๓ หมู่ที่ ๕ ต.สุคิริน
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ชั้นวางของ โต๊ะรับแขก โต๊ะรับประทานอาหาร
๑๗. นายศรศักดิ์ สงสิงห์ บ้านเลขที่ ๘๘ หมู่ที่ ๑ ต.ภูเขาทอง
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ ชั้นวางของ ชุดรับแขก โต๊ะรับประทานอาหาร
๑๘. นายชม เพชรศรี บ้านเลขที่ ๑๔๘ หมู่ที่ ๓ ต.มาโมง
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ โต๊ะรับประทานอาหาร ชุดรับแขก เตียงนอน
๑๙. เฟอร์นิเจอร์ไม้ ประธานกลุ่ม คือ นายบุญเกลี้ยง เจริญยิ่ง บ้านเลขที่ ๑๑๙ หมู่ที่ ๑ ต.ภูเขาทอง
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ เฟอร์นิเจอร์ไม้

เนื่องจาก อำเภอสุคิริน มีสมุนไพร ไม่น้อยกว่า ๕๐๐ ชนิด ฉะนั้น อำเภอได้จัดทำโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP อัตลักษณ์ คือ การผลิตสบู่สมุนไพร มีทั้งสบู่ก้อนและสบู่เหลว ควบคู่กับการผลิตน้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างรถ ฯลฯ ซึ่งจะใช้สมุนไพรของอำเภอเป็นส่วนผสม และเป็นการประชาสัมพันธ์อำเภอสุคิริน โดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์และเชิญชวนการท่องเที่ยวของอำเภอ สามารถเป็นทั้งสินค้าและของที่ระลึก และเป็นการเสริมรายได้ โดยเฉพาะสตรีในพื้นที่ และได้จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดนราธิวาส
ข้อเสนอ เพื่อให้จังหวัดช่วยแก้ไข คือ ระบบสัญญาณโทรศัพท์มือถือไม่ทั่วถึง ทำให้พลาดโอกาสในการติดต่อสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมท่องเที่ยว และการทำธุรกิจอื่น ๆ

๒) การเปิดจุดผ่อนปรน เพื่อการเชื่อมสัมพันธ์ทางด้านการค้า การท่องเที่ยว และการศึกษา
อำเภอสุคิริน และจังหวัดนราธิวาส ได้มีการสร้างสันถวไมตรี ซึ่งสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสุคิรินและสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนราธิวาส เกี่ยวข้องในฐานะเลขานุการคณะฯได้ดำเนินการพอสังเขป ดังต่อไปนี้
อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ได้มีการประสานกับทางการของอำเภอเยอลี รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และได้เดินทางไปมาหาสู่เพื่อเชื่อมสันถวไมตรีและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมาตลอด นับตั้งแต่สมัย นายวรเชษฐ์ พรมโอภาษ อดีตนายอำเภอสุคิริน ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายอำเภอรือเสาะ จังหวัดนริวาส และเมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ คณะของอำเภอสุคิริน นำโดย นายสาโรช กาญจนพงศ์ นายอำเภอสุคิริน จำนวน ๓๗ คน ได้เดินทางไปสร้างสันถวไมตรี พบปะกับนายอำเภอเยอลีและหัวหน้าส่วนราชการของทางการอำเภอเยอลี และหารือเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน การเปิดจุดผ่อนปรนบ้านภูเขาทอง การพัฒนาด้านการศึกษาและการท่องเที่ยว ของทั้ง ๒ อำเภอ โดยทั้ง ๒ อำเภอเห็นชอบด้วย แต่ต้องนำเสนอในระดับที่มีอำนาจสั่งการ และเมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ทางการอำเภอเยอลี รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดย YABrs Tuan Haji Abdul Manan Bin Ali ได้เชิญ นายสาโรช กาญจนพงศ์ นายอำเภอสุคิริน ร่วมเทศกาลงานเกษตรกรรมและไบโอเทคโนโลยี ประจำปี ๒๕๕๖ ณ Dataran Makan-makan Jeli, Kelantan, Malaysia โดยมี YB Dato' Haji Abdullah Bin Mat Nawi มนตรีเกษตรกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือน และไบโอเทคโนโลยี รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เป็นประธานในพิธี ทำให้เห็นว่า อำเภอสุคิริน สามารถผลิตสินค้าด้านการเกษตรร่วมจำหน่ายกับอำเภอเยอลีได้ โดยใช้ช่องทางการค้าชายแดน
ในส่วนด้านการศึกษานั้น มหาวิทยาลัยมาเลเซีย ประจำรัฐกลันตัน วิทยาเขตเยอลี (UMK Jeli: Universiti Malaysia Kelantan, Jeli Campus ให้โควตากับ นายอำเภอสุคิริน ส่งเด็กนักเรียนไปเรียนระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์การเกษตร ไม่จำกัดจำนวน แต่เด็กมีปัญหาทางด้านการใช้ภาษาอังกฤษและภาษามาเลเซีย
ในส่วนของจังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๖ นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส นายจักรกฤษณ์ กาญจนศูนย์ กงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู Mr.Azran Bin Haji Deraman ผู้อำนวยการกระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม สำนักงานรัฐกลันตัน พร้อมคณะผู้เข้าร่วมประชุมจากรัฐกลัน และผู้ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการส่งเสริมการตลาดสู่สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน จังหวัดนราธิวาส ร่วมประชุมเตรียมการส่งเสริมการตลาดสู่สานสัมพันธ์สองแผ่นดิน จังหวัดนราธิวาส ได้ประชุมปรึกษาหารือ ด้านการเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดนราธิวาสกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ณ ห้องประชุมหลวงปริวรรตวิจิตร ชั้น ๔ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส โดยมีประเด็นหลัก ๆ คือ ๑) ให้มีการจัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐ กลันตันและ โดยเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) มาตรฐานฮาลาล และด่านศุลกากร และนำสินค้าจากจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตันที่จะออกร้านมาตรวจสอบความพร้อม ร่วมกัน ซึ่งอาจส่งผลต่อการจัดทำการตลาดร่วมกัน (4Ps) ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาสถานที่ (Place) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product) การกำหนดราคา (Price) และการโฆษณาประชาสัมพันธ์ (Promotion) สู่ตลาดอาเซียนและตลาดอื่น ๆ ในอนาคต ๒) สนับสนุนการออกร้านและการเจรจาทางธุรกิจ โดยมีจะมีการออกร้านร่วมกัน ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ ๑ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ทั้งนี้ ให้มีการแถลงข่าวร่วมกันต่อสื่อมวลชนทั้งของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู ก่อนวันจัดงานประมาณ ๑ สัปดาห์ และ ๓) เห็นชอบที่จะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างรัฐกลันตันและจังหวัด นราธิวาส เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้า/ผลิตภัณฑ์ และระบบการตลาด OTOP (One Tambon One Product) ของจังหวัดนราธิวาส กับ SDSI (Satu Daerah Satu Industri) ของรัฐกลันตัน ร่วมกัน
และเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส พร้อมด้วย นายสิทธิชัย ศักดา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส นายมงคล นุ้ยศรีดา ผู้ช่วยเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคณะ ร่วมแถลงข่าว "การค้าชายแดนและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน" กับ นายจักรกฤษณ์ กาญจนศูนย์ กงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู Mr.Azran Bin Haji Deraman ผู้อำนวยการกระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม สำนักงานรัฐกลันตัน พร้อมคณะ โดยมีสื่อมวลชนจากประเทศไทยและประเทศมาเลเซียร่วมทำข่าวประชาสัมพันธ์ ณ สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู หลังจากนั้น ได้เดินทางต่อไปยัง KB Mall Centre Atrium Area เพื่อวางแผนเตรียมสถานที่การจัดงานครั้งนี้ และได้เยี่ยมชมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับและดูแลของ SME Bank Kota Bharu, Kelantan, Malaysia ซึ่งเป็นการริเริ่มงานที่ดีที่จะทำให้เกิดการค้าและสานสัมพันธ์ระหว่างจังหวัด นราธิวาสกับรัฐกลันตัน โดยใช้การค้าร่วมกันเป็นสื่อสัมพันธ์ อันจะนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในอนาคต ที่เป็นเป็นรูปธรรม และจะทำให้ พ่อ แม่ พี่ น้อง ชาวมาเลเซียและชาวไทย มีความสัมพันธ์อันดียิ่ง ๆ ขึ้นไป โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ พร้อมกัน ชาวจังหวัดนราธิวาส จะได้อาศัยศักยภาพของชาวกลันตัน และในทางกลับกัน ชาวกลันตัน ก็จะได้อาศัยศักยภาพด้านการพัฒนาของชาวนราธิวาส และได้เชิญชวน พ่อ แม่ พี่ น้องชาวมาเลเซียและผู้สนใจทั่วไป ได้เข้ามาเยี่ยมชม ร่วมกันซื้อสินค้า OTOP ของนราธิวาส และ SDSI (Satu Daerah Satu Indusri) ของกลันตัน หรือมาร่วมเจรจาทางธุรกิจ และสอบถามการออกใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานฮาลาล หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ในเทศกาลการแสดงและจำหน่ายสินค้า เพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ที่ร่วมกันจัดขึ้น ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๔๐ บูธ โดยให้ทาง SDSI มาออกร้าน ๑๐ บูธ
ข้อเสนอ เพื่อให้จังหวัดสนับสนุนกิจกรรมชายแดนจังหวัดนราธิวาส-รัฐกลันตัน รวมทั้งรัฐเปรัค ประเทศมาเลเซีย ซึ่งติดกับจังหวัดนราธิวาสด้วย ก็คือ เห็นควรมีทีมวิเทศสัมพันธ์ระดับจังหวัดร่วมกับกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู ดำเนินการประสานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้ง ๒ ฝ่ายให้มีการประชุมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อการให้เกิดกิจกรรมการเชื่อมสัมพันธ์ทางด้านการค้าชายแดน การท่องเที่ยว การศึกษา กีฬาและนันทนาการ โดยให้มีหน่วยเลขานุการ ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูล การประสานงาน และการดำเนินการด้านธุรการ

วันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Quantitative and Qualitative Paradigm Assumptions


Besides, they are different in some other dimensions as shown in the Table below: (Creswell, 1994)

Assumptions
Questions
Quantitative
Qualitative
Ontological Assumption
What is the nature of reality?
Reality is objective and singular apart from the researcher.
Reality is subjective and multiple as seen by participants in a study.
Epistemological Assumption
What is the relationship of the researcher to that researched?
Researcher is independent from that being researched.
Researcher interacts with that being researched.
Axiological Assumption
What is the role of values?
Value-free and unbiased
Value-laden and biased
Rhetorical Assumption
What is the language of research?
Formal,
Based on set definitions,
Impersonal voice, and
Use of accepted quantitative words
Informal,
Evolving decisions,
Personal voice, and
Accepted qualitative words
Methodological Assumption
What is the process of research?
Deductive process,
Cause and effect,
Static design -categories isolated before study,
Generalizations leading to prediction, explanation, and understanding, and
Accurate and reliable through validity and reliability
Inductive process,
Mutual simultaneous shaping of factors,
Emerging design -categories identified during research process,
Context-bound,
Patterns, theories developed for understanding, and
Accurate and reliable through verification