วันอาทิตย์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2556

คำศัพท์เกี่ยวกับขนมนมเนย

คำว่า “ขนม” ในภาษาไทย เมื่อแปลมาเป็นภาษาอังกฤษก็ต้องใช้คำหลายคำ เช่น sweets,  sweetmeat (ไม่ใช่เนื้อหวานนะคะ)  candy,  confection, pastry, bread หรืออื่นๆอีกมากมาย


คำว่า sweet หรือ ของหวาน คือขนมที่เป็นชิ้นเป็นอัน เหมือนที่ฝรั่งเรียก tart หรือ apple pie หากเป็นถ้วยๆเรียกว่า  trifle หรือ pudding อาจจะเป็นน้ำตาลเคี่ยวปรุงให้มีกลิ่นและรสต่างๆกัน ดังนั้นคำว่า sweet จึงเป็นคำรวมใช้เรียกทั่วๆไป และ อาจเติม s เป็น sweets ใช้สำหรับของหวานหลังอาหาร


แต่หากว่าเป็นการเลี้ยงอาหารอย่างมีพิธีรีตรอง มีรายชื่ออาหารมักเขียนเป็นภาษาฝรั่งเศสจึงเรียกขนมว่า dessert ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศส อ่านว่า ดีเซิร์ต แต่ตัว s ออกเสียงเป็นตัว z ห้ามอ่านว่า เดซเซิร์ต เพราะหมายถึง “ทะเลทราย”  ในอังกฤษ dessert มักหมายถึง ผลไม้และลูกนัทที่กินหลังอาหาร แต่ในอเมริกาเรียกของหวานหลังอาหารว่า dessert แบบเดียวกับฝรั่งเศส  แม้แต่คำว่า candy ซึ่งแปลว่าของหวาน แต่ในอังกฤษหมายถึงน้ำตาลเคลือบแข็งจนเป็นเกล็ด หากพูดว่า candied จะแปลว่า เคี่ยว แต่ฝรั่งหมายถึงฉาบด้วยน้ำตาล เช่นเปลือกมะนาวแช่อิ่ม ฝรั่งก็เรียกว่า candied lemon peel (เปลือก)  สำหรับชาวอเมริกัน candy หมายถึงของหวานจำพวกน้ำตาลเคี่ยว มักทำเป็นตังเม มีกลิ่นรสต่างๆกัน  เดิมอังกฤษมักใช้คำว่า sweet แต่ต่อมาก็ชักเริ่มใช้แบบอมริกัน ก็เลยเรียกว่า candy ไปด้วย


นอกจากนี้ยังมีคำว่า sweetmeat ไม่ได้แปลว่าเนื้อหวานแต่อย่างใด แต่หมายถึง ของหวานจำพวกน้ำตาลเคลือบหรือผลไม้ฉาบน้ำตาล คำว่า meatในที่นี้เป็นภาษาอังกฤษแบบเก่า  อีกความหมายหนึ่งแปลว่า อาหาร


และยังมีคำว่า confection แปลว่าของหวานได้เช่นกัน  แต่หากไปอังกฤษแล้วเห็นป้ายคำว่า confectionery แปลว่า ร้านขายขนม  ความจริงขนมขบเคี้ยวสามารถพูดได้หลายอย่าง เช่น bonbon หมายถึง น้ำตาลเคี่ยวหวานๆ  acid drops ลูกกวาดเปรี้ยว แล้วก็พวกยาอมที่มีรสชาติต่างๆ ฝรั่งจะเรียกยาพวกนี้ว่า  lozenge


ยังค่ะ ยังไม่หมด ยังมีขนมอื่นๆที่เราคุ้นเคยอีก เช่น cookies ที่คนอเมริกันจะเรียกขนมปังชนิดหวาน  แต่ถ้าไม่หวานและมักกินกับเนยแข็งเรียกว่า crackie แต่คนอเมริกันไม่เรียกขนมปังกรอบว่า biscuit  นอกจากนี้ยังมีพวกผลไม้ที่นำมากวนใส่น้ำตาล ใช้คำว่า preserve แม่บ้านฝรั่งนิยมทำแยม ขนมเหล่านี้มักใส่หีบเรียกว่า tuck box คำว่า tuck หมายถึง ขนมนมเนย ในอังกฤษ ร้านที่ตั้งชื่อว่า tuck shop ก็จะขายขนมนมเนย


นอกจากนี้ยังมี pie และ pudding เพราะถือว่าเป็นของหวานก็ได้ ของคาวก็ได้ บางทีเป็นแท่ง บางทีเป็นก้อน  pudding มักจะหมายถึงของกินที่ทำด้วยแป้งผสมกับผักหรือผลไม้หรือเนื้อสัตว์  นำไป นึ่ง ไปต้ม ไปอบ บางทีก็ออกมาในสภาพของเหลว หรือของนิ่มๆ


ส่วนของหวานไทยมีมากมายหลายชนิด จำนวนใกล้เคียงกับขนมหวานฝรั่งเศสเลยทีเดียว  จนบางคนคิดว่ามีมากที่สุดในโลก บางทีก็มี 2 ชื่อ หรือหลายชื่อก็มี ดังที่ฝรั่งเรียกกันว่า  namesake ในภาษาอังกฤษ คำว่า namesake อาจะหมายถึง 2 อย่างแต่มีชื่อเดียวกัน บางทีมีชื่อโบราณ แต่ต่อมาเปลี่ยนมาเป็นอีกชื่อหนึ่ง  เช่น ขนมรังไร หรือ ขนมเรไร  ขนมขี้หนูหรือขนมทราย  ข้าวต้มผัดหรือข้าวต้มมัด


สำหรับเมืองไทย ขนมบางชื่อมักเป็นศิริมงคลแก่งาน  ฝรั่งในยุคก่อนก็เหมือนกัน เช่น ชาวยิวมักจะตั้งชื่อขนมเพื่อระลึกถึงการต่อสู้กับธรรมชาติ แต่ส่วนใหญ่ชาวยิวมักจะตั้งชื่อขนมเพื่อระลึกถึงพระเจ้ามากกว่า ขนมไทยเห็นได้ชัดเจนเรื่องชื่อ เช่น ขนมชั้น เป็นขนมที่หมายถึงลำดับชั้นยศของยศฐาบรรดาศักดิ์  คนโบราณนิยมทำถึง 9 ชั้น เพราะถือเคล็ดของเสียงเลข 9 ว่าจะได้ก้าวหน้าในที่การงาน  ขนมถ้วยฟูกับขนมปุยฝ้าย ตามชื่อและรูปร่างบอกว่ามีความเฟื่องฟูอยู่ในตัว  ขนมเทียนหรือขนมนมสาวหมายถึงว่าจะสว่างไสวรุ่งโรจน์ในชีวิต  ขนมข้าวเหนียวแก้วหมายถึงความเหนียวแน่น เป็นปึกแผ่น ยิ่งขนมในตระกูลทอง ดังเช่น ทองเอก ฝอยทอง ทองหยิบ เชื่อว่าจะมีเงินทองไหลมาเทมาไม่รู้จบ  เม็ดขนุนก็ตีความว่า จะมีคนมาคอยสนับสนุนค้ำจุน ฝรั่งเรียกเคล็ดชนิดนี้ว่า  nominalism หมายถึง เอาชื่อของสิ่งใดก็ตามแล้วเอามความเชื่อทางภาษาเข้าไปเทียบและทำตามความเชื่อนั้นๆ


เอาล่ะ ถ้าจะเรียบเรียงตามที่ท่านผู้เขียนพูดมา มีอีกมาก  จะขอฝากคำศัพท์เกี่ยวกับขนมนมเนยที่น่ารู้ไว้ก่อนแล้วกันนะคะ

 กระชอน (ใช้กรองกะทิ)   -  strainer 

กระท้อน -   Saton

กะทิ  -  coconut  milk

กะทิสำเร็จรูป  - ready-made coconut milk

 หัวกะทิ – pure coconut cream

หางกะทิ -   thin coconut milk

กระยาสารท -   Rice, bean, sesame, and sugar cooked into a sticky paste, usually eaten during festival

 กล้วยกวน – banana conserve 

 กล้วยแขก -  Deep fried banana

กล้วยแช่อิ่ม  - banana in heavy syrup

กล้วยบวดชี – banana in sweet coconut milk

กล้วยฉาบ – sweet banana crisp

กล้วยเชื่อม – banana in syrup

กล้วยตาก –  sun-dried banana

 กะหรี่ปั๊บใส้ถั่ว – Curry puff with beans stuffing

กาก (หลังจากคั้นน้ำหมดแล้ว) – bagasse

 การกวน – simmering and stirring

 การเชื่อม – sugar syrup

การร่อนแป้ง – sifting flour

การหมัก – fermentation

ขนมกล้วย – banana streamed pastry

ขนมเข่ง – basket-shaped Chinese pudding

ขนมครก – Mortar-toasted pastry

ขนมจาก – sticky rice with coconut in palm leaf

ขนมจีน – Thai vermicelli eaten with peppery curry

ขนมชั้น – layer pudding

ซาลาเปาไส้หมู  – Roasted pork buns

ขนมตาล – steamed  palm

ขนมตุ้บตั้บ – Chinese peanut candy

ขนมถ้วย – coconut cake

ขนมถ้วยฟู – Siamese cupcake 

ที่มา: http://eng44you.exteen.com/20090827/entry

วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556

The McKinsey 7S Framework

Ensuring That All Parts of Your Organization Work in Harmony


Learn how to use the 7S Framework,
with James Manktelow & Amy Carlson.
How do you go about analyzing how well your organization is positioned to achieve its intended objective? This is a question that has been asked for many years, and there are many different answers.

Some approaches look at internal factors, others look at external ones, some combine these perspectives, and others look for congruence between various aspects of the organization being studied. Ultimately, the issue comes down to which factors to study.

While some models of organizational effectiveness go in and out of fashion, one that has persisted is the McKinsey 7S framework. Developed in the early 1980s by Tom Peters and Robert Waterman, two consultants working at the McKinsey & Company consulting firm, the basic premise of the model is that there are seven internal aspects of an organization that need to be aligned if it is to be successful.
The 7S model can be used in a wide variety of situations where an alignment perspective is useful, for example to help you:
  • Improve the performance of a company.
  • Examine the likely effects of future changes within a company.
  • Align departments and processes during a merger or acquisition.
  • Determine how best to implement a proposed strategy.
Tip:
The McKinsey 7S model can be applied to elements of a team or a project as well. The alignment issues apply, regardless of how you decide to define the scope of the areas you study.

The Seven Elements

The McKinsey 7S model involves seven interdependent factors which are categorized as either "hard" or "soft" elements:
Hard Elements Soft Elements
Strategy
Structure
Systems
Shared Values
Skills
Style
Staff

"Hard" elements are easier to define or identify and management can directly influence them: These are strategy statements; organization charts and reporting lines; and formal processes and IT systems.
"Soft" elements, on the other hand, can be more difficult to describe, and are less tangible and more influenced by culture. However, these soft elements are as important as the hard elements if the organization is going to be successful.
The way the model is presented in Figure 1 below depicts the interdependency of the elements and indicates how a change in one affects all the others.


Let's look at each of the elements specifically:
  • Strategy: the plan devised to maintain and build competitive advantage over the competition.
  • Structure: the way the organization is structured and who reports to whom.
  • Systems: the daily activities and procedures that staff members engage in to get the job done.
  • Shared Values: called "superordinate goals" when the model was first developed, these are the core values of the company that are evidenced in the corporate culture and the general work ethic.
  • Style: the style of leadership adopted.
  • Staff: the employees and their general capabilities.
  • Skills: the actual skills and competencies of the employees working for the company.
Note:
Placing Shared Values in the middle of the model emphasizes that these values are central to the development of all the other critical elements. The company's structure, strategy, systems, style, staff and skills all stem from why the organization was originally created, and what it stands for. The original vision of the company was formed from the values of the creators. As the values change, so do all the other elements.

How to Use the Model

Now you know what the model covers, how can you use it?
The model is based on the theory that, for an organization to perform well, these seven elements need to be aligned and mutually reinforcing. So, the model can be used to help identify what needs to be realigned to improve performance, or to maintain alignment (and performance) during other types of change.
Whatever the type of change – restructuring, new processes, organizational merger, new systems, change of leadership, and so on – the model can be used to understand how the organizational elements are interrelated, and so ensure that the wider impact of changes made in one area is taken into consideration.
You can use the 7S model to help analyze the current situation (Point A), a proposed future situation (Point B) and to identify gaps and inconsistencies between them. It's then a question of adjusting and tuning the elements of the 7S model to ensure that your organization works effectively and well once you reach the desired endpoint.
Sounds simple? Well, of course not: Changing your organization probably will not be simple at all! Whole books and methodologies are dedicated to analyzing organizational strategy, improving performance and managing change. The 7S model is a good framework to help you ask the right questions – but it won't give you all the answers. For that you'll need to bring together the right knowledge, skills and experience.
When it comes to asking the right questions, we've developed a Mind Tools checklist and a matrix to keep track of how the seven elements align with each other. Supplement these with your own questions, based on your organization's specific circumstances and accumulated wisdom.

7S Checklist Questions

Here are some of the questions that you'll need to explore to help you understand your situation in terms of the 7S framework. Use them to analyze your current (Point A) situation first, and then repeat the exercise for your proposed situation (Point B).
Strategy:
  • What is our strategy?
  • How do we intend to achieve our objectives?
  • How do we deal with competitive pressure?
  • How are changes in customer demands dealt with?
  • How is strategy adjusted for environmental issues?
Structure:
  • How is the company/team divided?
  • What is the hierarchy?
  • How do the various departments coordinate activities?
  • How do the team members organize and align themselves?
  • Is decision making and controlling centralized or decentralized? Is this as it should be, given what we're doing?
  • Where are the lines of communication? Explicit and implicit?
Systems:
  • What are the main systems that run the organization? Consider financial and HR systems as well as communications and document storage.
  • Where are the controls and how are they monitored and evaluated?
  • What internal rules and processes does the team use to keep on track?
Shared Values:
  • What are the core values?
  • What is the corporate/team culture?
  • How strong are the values?
  • What are the fundamental values that the company/team was built on?
Style:
  • How participative is the management/leadership style?
  • How effective is that leadership?
  • Do employees/team members tend to be competitive or cooperative?
  • Are there real teams functioning within the organization or are they just nominal groups?
Staff:
  • What positions or specializations are represented within the team?
  • What positions need to be filled?
  • Are there gaps in required competencies?
Skills:
  • What are the strongest skills represented within the company/team?
  • Are there any skills gaps?
  • What is the company/team known for doing well?
  • Do the current employees/team members have the ability to do the job?
  • How are skills monitored and assessed?

7S Matrix Questions

Using the information you have gathered, now examine where there are gaps and inconsistencies between elements. Remember you can use this to look at either your current or your desired organization.
Click here to download our McKinsey 7S Worksheet, which contains a matrix that you can use to check off alignment between each of the elements as you go through the following steps:
  • Start with your Shared Values: Are they consistent with your structure, strategy, and systems? If not, what needs to change?
  • Then look at the hard elements. How well does each one support the others? Identify where changes need to be made.
  • Next look at the other soft elements. Do they support the desired hard elements? Do they support one another? If not, what needs to change?
  • As you adjust and align the elements, you'll need to use an iterative (and often time consuming) process of making adjustments, and then re-analyzing how that impacts other elements and their alignment. The end result of better performance will be worth it.
Tip:
For similar approaches to this, see our articles on the Burke-Litwin Change Model, and the Congruence Model. You may also find our articles on the Change Curve, Impact Analysis and Lewin's Change Management Model useful.

Key Points

The McKinsey 7Ss model is one that can be applied to almost any organizational or team effectiveness issue. If something within your organization or team isn't working, chances are there is inconsistency between some of the elements identified by this classic model. Once these inconsistencies are revealed, you can work to align the internal elements to make sure they are all contributing to the shared goals and values.
The process of analyzing where you are right now in terms of these elements is worthwhile in and of itself. But by taking this analysis to the next level and determining the ultimate state for each of the factors, you can really move your organization or team forward.

วันอาทิตย์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2556

สรุปหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคล กรมการพัฒนาชุมชน

1. การย้ายข้าราชการ
* พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 57,63,132,137
* หนังสือ ที่ นร 0708/ว 9 ลว.12 พ.ค.35
* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 12 ลว.11 ธ.ค.33
* หนังสือ ที่ นร 1011/ว 13 ลว.11 ธ.ค.51

* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 7 ลว.6 มี.ค.52

* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 8 ลว.9 มี.ค.52

* หนังสือ ที่ นร 1008.3.1/403 ลว.4 พ.ย.52

* หนังสือ ที่ นร 1008/ว 40 ลว 30 ก.ย.53

2. การแต่งตั้งให้ข้าราชการรักษาการในตำแหน่ง
* พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 68

3. การแต่งตั้งให้ข้าราชการรักษาราชการแทน
* พระราชบัญญัติระเบียบบริหารข้าราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 47

* คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชน ที่ 516/2552 ลว.18 พ.ย.2552

4. การแต่งตั้งให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่/ปฏิบัติหน้าที่ตามตำแหน่ง
* พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 57,32 และที่แก้ไขเพิ่มเติมตาม พ.ร.บ.แผ่นดิน พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 5)

5. การลาออกจากราชการ
* พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 57,109,132

* ระเบียบ ก.พ.ว่าด้วยวันออกจากราชการ พ.ศ.2535

* ระเบียบ ก.พ.ว่าด้วยการลาออกจากราชการ พ.ศ.2551

* หนังสือ ที่ นร 1011/ว 13 ลว.11 ธ.ค.2551

6. การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
* หนังสือ ที่ นร 1004/ว 19 ลว.2 มิ.ย.2553

* กฎ ก.พ.ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ.ศ.2553

* พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 59

* ประกาศกรมการพัฒนาชุมชน ลงวันที่ 30 ก.ย.2553

* คำสั่งกรมการพัฒนาชุมชน ที่ 428/2553 ลว.30 ก.ย.2553

7. การเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้สอบได้ขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น
7. 1 กรณีเป็นผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งประเภทวิชาการของส่วนราชการเดิม
* พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 57,63,132,137

* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 16 ลว.22 มิ.ย.2552

* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 12 ลว.11 ธ.ค.2551

* หนังสือ ที่ นร 1011/ว 13 ลว.11 ธ.ค.2551

* หนังสือ ที่ นร 0708.4/ว 5 ลว.13 พ.ค.2536

7. 2 กรณีเป็นผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งประเภทวิชาการของส่วนราชการเดิม
* หนังสือ ที่ นร 1004.1/ว 4 ลว.18 มี.ค.2548

8. การย้ายข้าราชการพลเรือนสามัญซึ่งได้รับวุฒิเพิ่มขึ้น (ย้ายเปลี่ยนสายงาน)
8. 1 กรณีที่ 1 เป็นผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งซึ่งอยู่ในสายงานของกรมการพัฒนาชุมชน
* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 16 ลว.22 มิ.ย.2552

* หนังสือ ที่ นร 0711/ว 12 ลว.1 ต.ค.2533

8. 2 กรณีที่ 2 เป็นผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งที่ไม่มีในสายงานของกรมการพัฒนาชุมชน
* หนังสือ ที่ นร 1006/ว 15 ลว.28 มิ.ย.2547

9. การให้ข้าราชการได้รับเงินเดือนตามวุฒิ (กรณีปรับวุฒิในตำแหน่งเดิม)
* หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ นร 1008.1/ว 20 ลว.27 ธ.ค. 2555

* กฎ ก.พ.ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินเดือน พ.ศ.2551

วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2556

SENARAI USAHAWAN

SENARAI USAHAWAN BAGI PEMBUKAAN BOOTH SEMPENA PROGRAM
NARATHIWAT – KELANTAN TRADE AND RELATIONSHIP FAIR 2013
TARIKH      :        1 – 5 MEI 2013 (RABU HINGGA SELASA)
TEMPAT     :        ATRIUM KB MALL, KOTA BHARU
MASA        :        10.00 PAGI
BIL.
NAMA SYARIKAT
PENGURUS
JENIS PRODUK
NO - TEL
1.
GHA BEAUTY CARE
MAHANI BT HUSIN
PRODUK KECANTIKAN
019-9041094
2.
D’ ROYAL MURTABAK
SABRI B MAD
MAKANAN SEJUK BEKU
019-9847660
3.
K.B PERMAI
HASNANI BT AD MANAN
KRAFTANGAN
019-9326106
4.
ZANIS 3 WARISAN KG LAUT
WAN SHAMSIAH BT WAN MOHD NOR
SERUNDING
019-9275533
5.
TIEN SIONG SDN BHD
TIEN SIONG
SARANG BURUNG
09-7416999
6.
HALIMAH BATIK
HALIMAH BT YAACOB
BATIK
019-9846806
7.
RUZI’S FOOD
RUZILAWATI BT HARUN
MAKANAN SEJUK BEKU
019-9810066
8.
RMZ PRODUCTS SDN BHD
NIK MOOD
AIR ROSELLE
012-9009748
9.
RISDA
-
DAUN GETAH
7484077
10.
KRAFTANGAN
-
KRAFTANGAN
7126266

วันพฤหัสบดีที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2556

การแถลงข่าว การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ๑๘ เม.ย.๕๖



วันที่ 18 เมษายน 2556 นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส พร้อมด้วยนายสิทธิชัย ศักดา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส นายมงคล นุ้ยศรีดา ผู้ช่วยเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคณะ ร่วมแถลงข่าวโครงการ "การค้าชายแดนและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน" กับ นายจักรกฤษณ์ กาญจนศูนย์ กงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู Mr.Azran Bin Haji Deraman ผู้อำนวยการกระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม สำนักงานรัฐกลันตัน พร้อมคณะ โดยมีสื่อมวลจากประเทศไทยและประเทศมาเลเซียร่วมทำข่าวประชาสัมพันธ์ ณ สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู เดินทางต่อไปยัง KB MALL Centre Atrium Area เพื่อเตรียมการและวางแผน เรื่องสถานที่การจัดงานครั้งนี้ และเยี่ยมชมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับและดูแลของ SME BANK ณ KOTA BHARU KELANTAN MALAYSIA



 สรุปแถลงข่าวโครงการ “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน”
 ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู  รัฐกลันตัน  ประเทศมาเลเซีย
 วันพฤหัสบดี ที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖
 เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น.
 -----------------------

เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส พร้อมด้วย นายสิทธิชัย ศักดา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส นายมงคล นุ้ยศรีดา ผู้ช่วยเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคณะ ร่วมแถลงข่าวโครงการ "การค้าชายแดนและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน" (Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship) ร่วมกับ นายจักรกฤษณ์ กาญจนศูนย์ กงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู และ Mr.Azran Bin Haji Deraman ผู้อำนวยการกระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม สำนักงานรัฐกลันตัน พร้อมคณะ โดยมีสื่อมวลชนจากประเทศไทยและประเทศมาเลเซียร่วมทำข่าวประชาสัมพันธ์ ณ สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารูหลังจากนั้น คณะได้เดินทางต่อไปยัง KB Mall Centre Atrium Area เพื่อเตรียมการและวางแผน เรื่องสถานที่การจัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP (One Tambon One Product – หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์) ของจังหวัดนราธิวาส ร่วมกับ SDSI (Satu Daerah Satu Industri – หนึ่งตำบลหนึ่งอุตสาหกรรม) ของรัฐกลันตัน ในงานมหกรรมการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ (Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship Fair 2013)  ณ ศูนย์การค้า KB Mall ระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖  และหลังจากนั้นได้เยี่ยมชมกิจการโรงงานของธนาคารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME Bank ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับและดูแลของ SME Bank ณ Kota Bharu, Kelantan, MALAYSIA

สำหรับสื่อมวลชนจากจังหวัดนราธิวาส ประกอบด้วย ประชาสัมพันธ์จังหวัดนราธิวาส หัวหน้าสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ๒ สถานี คือ สวท.นราธิวาส และ สวท.สุไหงโก-ลก ผู้ประกาศข่าวสถานีวิทยุกระจายเสียง ๙๑๒ กรป.กลาง จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสื่อมวลชน นักสื่อสารมวลชน นักประชาสัมพันธ์ นักข่าว รวม ๑๑ คน ส่วนสื่อมวลชนจากรัฐกลันตัน ประกอบด้วย สถานีวิทยุ-โทรทัศน์ ช่อง ๓ มาเลเซีย หนังสือพิมพ์ภาษามาเลเซีย Sinar Harian, หนังสือพิมพ์ภาษาจีน Nanyang Siang Pau จำนวน ๖ คน ผลการแถลงข่าว
สำหรับเจ้าหน้าที่และผู้ประกอบการของจังหวัดนราธิวาส จำนวน ๒๐ คน จาก ศอ.บต. พัฒนาชุมชน อุตสาหกรรม สาธารณสุข และเครือข่าย OTOP จังหวัดนราธิวาส ส่วนรัฐกลันตัน จาก ๓ หน่วยงาน คือ MITI, MARA, SME Bank, MIDA (Malaysia Industry Development Authority)  จำนวน ๗ คน

ประเด็นเนื้อหาการแถลงข่าว เน้นการเชื่อมสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน โดยอาศัยการค้าเป็นสื่อกลาง ซึ่งจะมีการแสดงและจำหน่ายสินค้าร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ดังต่อไปนี้
๑. การจัดงานมหกรรม “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ณ ศูนย์การค้า KB Mall ระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖  โดยมีรูปแบบ คือ
๑) การแสดงและจำหน่ายสินค้าร่วมกันระหว่างนราธิวาส-กลันตัน ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๔๐ บูธ  ซึ่งผู้ประกอบการกลันตัน จะร่วมจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๑๐ บูธ  และผู้ประกอบการนราธิวาส จะจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๓๐ บูธ 
๒) การเจรจาทางธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการและผู้จำหน่ายสินค้านราธิวาสและกลันตัน
๓) การแสดงศิลปวัฒนธรรมร่วมกัน
๔) การจัดบูธให้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) มาตรฐานฮาลาล ของทั้งสองฝ่ายมาให้คำปรึกษา แนะนำ
๒. การจัดแสดงและจำหน่ายสินค้าของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดยมีหน่วยงาน MITI Kelantan ร่วมกับหน่วยงาน MARA Kelantan ณ ศูนย์การค้า Big C Extra  อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย ในระหว่างวันที่ ๖-๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ โดยมีรูปแบบ คือ
๑) การแสดงและจำหน่ายสินค้าร่วมกันระหว่างนราธิวาส-กลันตัน ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๔๐ บูธ  ซึ่งผู้ประกอบการกลันตัน จะร่วมจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๑๐ บูธ  และผู้ประกอบการนราธิวาส จะจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๓๐ บูธ 
๒) การเจรจาทางธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการและผู้จำหน่ายสินค้านราธิวาสและกลันตัน
๓) การแสดงศิลปวัฒนธรรมร่วมกัน

นอกจากนี้ มีการแลกเปลี่ยนเอกสารการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน (Mutual Committee for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship) ตามมติที่ประชุมร่วมระหว่างคณะอนุกรรมการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดนราธิวาส และผู้แทน SDSI (Satu Daerah Satu Industri) ของรัฐกลันตัน เมื่อวันอังคาร ที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมหลวงปริวรรตวรวิจิตร ชั้น ๔ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส กำหนดให้จัดตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการตลาดผลิตภัณฑ์ของจังหวัดนราธิวาส และรัฐกลันตันขึ้น เพื่อประสานการดำเนินงานด้านการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์และการตลาดระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งแทนของกลันตันที่เข้าร่วมประชุม ได้แก่
1. Mr.Azran bin Hj. Deraman    Director of MITI Kelantan
2. Mr. Azunaiadey bin Bakar    Deputy Director of MARA Kelantan
3. Mr. Mohd Azam bin Jamaluddin    Senior Assistant Director of MARA Kelantan
4. Mr. Wan Ismail bin Wan Yusof    Senior Superintendent of Royal Customs of Malaysia, Kelantan Regional Office
5. Miss Murnizawati binti Mohamad Ripin    MITI Kelantan Officer
6. Miss Siti Nur Azmarinda bitnti Roslan    MITI Kelantan Officer
7. Mr.Hamat Kamel bin Dollah    Kelantan Coordinator

โดยที่คณะกรรมการร่วมการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ส่วนจังหวัดนราธิวาส ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้
๑.    คณะที่ปรึกษา
๑.๑ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส
๑.๒ ประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส
๑.๓ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส
๒.    คณะทำงาน
๒.๑  รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส (นายสิทธิชัย  ศักดา)    ประธานคณะทำงาน
๒.๒  หัวหน้าสำนักงานจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๓  นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส     คณะทำงาน
๒.๔  อุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๕  พาณิชย์จังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๖  ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๗  เกษตรจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๘  ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๙  ประธานหอการค้าจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๑๐ ประธานเครือข่าย OTOP จังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๑๑ ประชาสัมพันธ์จังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๑๒ พัฒนาการจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงานและเลขานุการ
๒.๑๓ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน    คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ       

และในส่วนของจังหวัดนราธิวาสให้มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
๑. กำหนดแนวทางในการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP และเสนอต่อคณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส
๒. จัดทำแผนงานและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส (OTOP) ร่วมกับ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๓. จัดทำระบบฐานข้อมูลเครือข่ายของผู้ผลิต และประเภทผลิตภัณฑ์ของจังหวัดให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้งในจังหวัดนราธิวาส และรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๔. เป็นศูนย์กลางการประสานงานในการสนับสนุนส่งเสริมโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนราธิวาส
๕. ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๖. ประสานงานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และรายงานต่อคณะอนุกรรมการ นตผ.จังหวัดนราธิวาส ทราบทุกระยะ
๗. แก้ไขปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน และบูรณาการแผนงาน/โครงการระหว่างจังหวัดนราธิวาส กับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อสร้างพื้นฐานให้เชื่อมต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
๘. ประสานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการผลิต การตลาด ระหว่างผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ของจังหวัดนราธิวาสและ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน
๙. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่คณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส มอบหมาย

ในโอกาสนี้ นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส และในนามชาวจังหวัดนราธิวาส ได้ถือโอกาสแสดงความรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง  ที่ได้มาร่วมงานแถงข่าว  “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู  รัฐกลันตัน  ประเทศมาเลเซีย ร่วมกันกับ MITI Kelantan และ MARA Kelantan ต่อหน้าสื่อมวลชนทั้งมาเลเซียและไทย และได้ขอบคุณ ผู้สื่อข่าวทั้งมาเลเซียและไทย รวมถึงคณะจากมาเลเซียและไทย ที่มาร่วมงานแถลงข่าว “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู  รัฐกลันตัน  ประเทศมาเลเซีย และขอบคุณท่านกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู ท่านจักรกฤษณ์ กาญจนศูนย์ ที่อนุญาตให้ใช้สถานที่ด้วย
ในโอกาสการดำเนินกิจกรรมที่เป็นปฐมฤกษ์ ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ได้เชิญชวน พ่อ แม่ พี่ น้องชาวมาเลเซียและผู้สนใจทั่วไป ได้เข้ามาเยี่ยมชม ร่วมกันซื้อสินค้า OTOP ของนราธิวาส และ SDSI ของกลันตัน หรือมาร่วมเจรจาทางธุรกิจ และสอบถามการออกใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานฮาลาล หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ในเทศกาลการแสดงและจำหน่ายสินค้า เพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ที่จะร่วมกันจัดให้มีขึ้น ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖
สำหรับกรอบแนวคิดในการสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน โดยใช้การค้าเป็นสื่อกลาง เนื่องจาก จังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน มีพื้นที่ชายแดนติดต่อกัน และมีขนบธรรมเนียมประเพณีคล้ายคลึงกัน เว้นแต่ภาษาราชการที่ต่างกัน ซึ่งนราธิวาสจะใช้ภาษาไทย ส่วนกลันตันจะใช้บาฮาซามาเลเซียและภาษาอังกฤษ  ส่วนภาษาถิ่นนั้น เรามีความเหมือนกันมาก ไม่ว่าจะเป็นภาษาถิ่นมลายูและภาษาไทยสำเนียงเจ๊ะเห ซึ่งสามารถสื่อสารกันได้ นราธิวาสและกลันตัน มีทั้งวัดและมัสยิด และบางคนยังมีญาติพี่น้องอยู่ในสองพื้นที่และมีการเดินทางไปเยี่ยมเยียนกันอยู่เนืองนิจ และมีการค้าชายแดนมูลค่าเป็นพันล้านบาทต่อปี มีอำเภอติดต่อกันถึง ๔ อำเภอ ดังนี้
- อำเภอตากใบ     ติดกับ อำเภอตุมปัต
- อำเภอสุไหงโก-ลก     ติดกับ อำเภอปาเซมัส
- อำเภอแว้ง     ติดกับ อำเภอตาเน๊าะแมเร๊าะ
- อำเภอสุคิริน     ติดกับ อำเภอเยอลี
เรามีด่านถาวรถึง ๓ ด่าน ยกเว้นอำเภอสุคิริน-อำเภอเยอลี ยังไม่มีด่านถาวร แต่ก็เคยมีด่านชั่วคราว และจะเป็นการดี  หากได้มีการเปิดด่านที่ ๔ ระหว่างอำเภอสุคิริน - อำเภอเยอลี อีกด่านหนึ่ง แต่ก็ต้องดูเรื่องความมั่นคง
ที่ผ่านมามีการเชื่อมสัมพันธ์อันดีระหว่างพี่น้องทั้งสองพื้นที่  โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้า เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิชาการซึ่งกันและกัน ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยใช้สื่อในการสร้างความสัมพันธ์อันดีของพี่น้องทั้งสองพื้นที่ และรวมถึงการค้าขายตามแนวชายแดน ในขณะนี้ จังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตันมีประตูค้าขายชายแดนถึงสามประตูเพื่อพัฒนาอำนวยความสะดวกในการเดินทางติดต่อค้าขาย และส่งเสริมการท่องเที่ยว และการลงทุน โดยเฉพาะการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับจังหวัดนราธิวาสเองมี Positioning หรือจุดยืนของจังหวัดนราธิวาส คือ เป็นประตูการค้าชายแดน 

ในการนี้ นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ได้ให้ความสำคัญกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน เป็นอย่างมาก และได้อนุมัติงบประมาณตามยุทธศาสตร์จังหวัดนราธิวาส โครงการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนและผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP จังหวัดนราธิวาส โดยมอบหมายให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนราธิวาส ดำเนินการกิจกรรมจำหน่าย OTOP และผลิตภัณฑ์ชุมชน ร่วมกับ SDSI ของกลันตัน และให้มีการสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ประเทศมาเลเซีย งบประมาณทั้งสิ้น ๑,๗๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านเจ็ดแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) โดยใช้การแสดงและจำแหน่ายสินค้า OTOP และ SDSI เป็นเครื่องมือในการเชื่อมสันถวไมตรี

ส่วนวัตถุประสงค์ “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” เพื่อ
๑. ให้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และ SDSI ได้เผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ของนราธิวาส และ SDSI ของมาเลเซีย ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านชายแดน
๒. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้า OTOP และ SDSI และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และ SDSI ให้มีโอกาสทางการตลาดมากขึ้น สามารถส่งสินค้าไปขายยังจังหวัดอื่น ๆ ในประเทศไทย และรัฐอื่น ๆ ในประเทศมาเลเซีย รวมทั้งสามารถส่งสินค้าไปขาย ณ ต่างประเทศได้
๓. สนับสนุนและพัฒนาให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และ SDSI ได้เรียนรู้ทักษะด้านการบริหาร    จัดการ อาทิเช่น การผลิต การบรรจุภัณฑ์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และระบบการตลาด รวมทั้งกฎหมายหรือข้อปฏิบัติของทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะขั้นตอนวิธีการรับใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) มาตรฐานฮาลาล และพิธีการทางศุลกากรหรือการผ่านแดน
๔.    สามารถให้ผู้ประกอบการและผู้จำหน่ายสินค้าเข้ามาเจรจาธุรกิจ
๕. ส่งเสริมความสัมพันธ์ด้านการค้าและความร่วมมือระหว่างประเทศ 

และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ“การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ในระยะยาว ก็จะมีการดำเนินการในส่วนของจังหวัดนราธิวาส ดังต่อไปนี้
๑. จะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างคณะทำงานร่วมระหว่างรัฐกลันตันและจังหวัดนราธิวาส เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้า/ผลิตภัณฑ์ และระบบการตลาด OTOP (One Tambon One Product) ของจังหวัดนราธิวาส กับ SDSI (Satu Daerah Satu Industri) ของรัฐกลันตัน เพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP และเสนอต่อคณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส และรัฐบาลไทย และเสนอต่อผู้ที่เกี่ยวข้องของทางการมาเลเซีย
๒. จัดทำแผนงานและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส (OTOP) ร่วมกับ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๓. จัดทำระบบฐานข้อมูลเครือข่ายของผู้ผลิตและประเภทผลิตภัณฑ์ของจังหวัด ให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้งในจังหวัดนราธิวาส และรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๔. จัดให้มีศูนย์กลางการประสานงานในการสนับสนุนส่งเสริมโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนราธิวาส ร่วมกับโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของรัฐกลันตัน
๕. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย 
๖. ประสานงานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกัน ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และรายงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้องของทั้ง ๒ ฝ่าย ทราบทุกระยะ
๗. ร่วมกันแก้ไขปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน และบูรณาการแผนงาน/โครงการระหว่างจังหวัดนราธิวาส กับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อสร้างพื้นฐานให้เชื่อมต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนร่วมกัน
๘. ประสานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันทางด้าน การผลิต การบรรจุภัณฑ์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการตลาด ระหว่างผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ของจังหวัดนราธิวาสและ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๙. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ผู้ที่เกี่ยวข้องของทั้ง ๒ ฝ่าย เห็นชอบและก่อให้เกิดผลดีของการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตันในอนาคต

สำหรับการจัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้าเพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ แตกต่างจากงาน Thai Festival ซึ่ง ศอ.บต. ร่วมกับสถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู ที่เคยจัดมาแล้ว ๑๖ ครั้ง และล่าสุดจัดที่โกตาบารู เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ – ๓ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ  Dataran Muhammadi, Kota Bharu, Kelantan, Malaysia เป็นมูลค่าที่ได้รับถึง ๙ ล้านบาท และมี Order สินค้าตามมาอีก ๒ ล้านบาท นั้น มีความแตกต่างจากงานแสดงและจำหน่ายสินค้าเพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ คือ นอกจากเป็น Event แล้ว ยังเป็น Movement ที่ต้องมีการสานงานต่ออย่างต่อเนื่อง โดยมีคณะกรรมการร่วมเพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน และจะมีการร่วมแสดงและจำหน่ายสินค้า ซึ่งในอนาคตอาจได้ร่วมกันแสดงและจำหน่ายสินค้าในจังหวัดอื่น ๆ ของประเทศไทย หรือรัฐอื่น ๆ ในประเทศมาเลเซีย แม้กระทั่งหากเป็นไปได้ก็จะเป็นประเทศอื่น ๆ โดยนราธิวาสจะได้อาศัยศักยภาพของกลันตัน และกลันตันจะได้อาศัยศักยภาพของนราธิวาส

หลังจากแถลงข่าวแล้ว ท่านผู้ราชการจังหวัดนราธิวาส และท่านกงสุลใหญไทย ณ เมืองโกตาบารู ให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าว และรับประทานอาหารกลางวันที่สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู จากนั้น ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาสและคณะได้เดินทางมายังสถานที่จัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้า “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ณ ศูนย์การค้า KB Mall, Kota Bharu, Kelantan และได้เดินยัง Centre Atrium Area ใน KB Mall ซึ่งเป็นสถานที่จะจัดงานระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖

ต่อจากนั้น คณะก็ได้เดินทางมาดูกิจการโรงงานของธนาคารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME Bank ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับและดูแลของ SME Bank ณ Kota Bharu, Kelantan, MALAYSIA ซึ่งธนาคารลงทุนสร้างโรงงานและให้ผู้ประกอบการเช่าสถานที่ คิดเป็นลูกบาศก์ฟุตละ 40 เซนต์ หรือประมาณ 4 บาท ทั้งนี้ ราคาจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนพื้นที่ที่เช่า และ SME Bank ก็ยังให้กู้เงินแล้วแต่ลักษณะของกิจการที่ดำเนินการ บางกิจการผู้ประกอบการที่กู้เงิน ก็ให้คืนแค่เพียง ๗๐ เปอร์เซ็นต์ของเงินให้กู้

ท้ายนี้ เพื่อให้เห็นถึงการดำเนินกิจกรรมที่เป็นปฐมฤกษ์ ขอเชิญชวน พ่อ แม่ พี่ น้อง ชาวมาเลเซียและผู้สนใจทั่วไปทั้งไทยและมาเลเซีย ได้ไปเยี่ยมชม ร่วมกันซื้อสินค้า OTOP นราธิวาส และ SDSI กลันตัน หรือไปร่วมเจรจาทางธุรกิจ หรือสอบถามการออกใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานฮาลาล หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ในเทศกาลการแสดงและจำหน่ายสินค้า เพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ที่จังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตันร่วมกันจัดให้มีขึ้น ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ขอเรียนเชิญ!


(ร่าง)
แถลงข่าวโครงการ “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน”
 โดย นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส
 ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู  รัฐกลันตัน  ประเทศมาเลเซีย
 วันพฤหัสบดี ที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๖
 เวลา ๑๐.๐๐ น.
 -----------------------

เรียน  Mr.Azran Bin Haji Deraman, ผู้อำนวยการกระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม สำนักงานรัฐกลันตัน
ผู้แทนจากคณะ MARA Kelantan
ท่านกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู, และคณะผู้เข้าร่วมประชุมจากรัฐกลันตัน
ท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส, คณะทำงานเพื่อพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ การตลาด และสานสัมพันธ์นราธิวาส - กลันตัน
พี่น้องสื่อมวลชนมาเลเซียและไทย และผู้มีเกียรติทุกท่าน

ผม นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส และในนามชาวจังหวัดนราธิวาส มีความรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง  ที่ได้มาร่วมงานแถงข่าว  “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู  รัฐกลันตัน  ประเทศมาเลเซีย ร่วมกันกับ MITI Kelantan และ MARA Kelantan ต่อหน้าสื่อมวลชนทั้งมาเลเซียและไทย ในวันนี้

นับเป็นการริเริ่มงานที่ดีจะทำให้เกิดการค้าและสานสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดนราธิวาสกับรัฐกลันตัน โดยใช้การค้าร่วมกันเป็นสื่อสัมพันธ์ อันจะนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในอนาคต ที่เป็นเป็นรูปธรรม และจะทำให้ พ่อ แม่ พี่ น้อง ชาวมาเลเซียและชาวไทย มีความสัมพันธ์อันดียิ่ง ๆ ขึ้นไป โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ พร้อมกัน ผมคิดว่า “นราธิวาส จะได้อาศัยศักยภาพด้านการพัฒนาของกลันตัน และในทางกลับกัน กลันตัน ก็จะได้อาศัยศักยภาพด้านการพัฒนาของนราธิวาส”
ในโอกาสการดำเนินกิจกรรมที่เป็นปฐมฤกษ์ ผมขอเชิญชวน พ่อ แม่ พี่ น้องชาวมาเลเซียและผู้สนใจทั่วไป ได้เข้ามาเยี่ยมชม ร่วมกันซื้อสินค้า OTOP ของนราธิวาส และ SDSI ของกลันตัน หรือมาร่วมเจรจาทางธุรกิจ และสอบถามการออกใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานฮาลาล หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ในเทศกาลการแสดงและจำหน่ายสินค้า เพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ที่จะร่วมกันจัดให้มีขึ้น ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖

[๑. กรอบแนวคิด]
จังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน มีพื้นที่ชายแดนติดต่อกัน และมีขนบธรรมเนียมประเพณีคล้ายคลึงกัน เว้นแต่ภาษาราชการที่ต่างกัน ซึ่งนราธิวาสจะใช้ภาษาไทย ส่วนกลันตันจะใช้บาฮาซามาเลเซียและภาษาอังกฤษ  ส่วนภาษาถิ่นนั้น เรามีความเหมือนกันมาก ไม่ว่าจะเป็นภาษาถิ่นมลายูและภาษาไทยสำเนียงเจ๊ะเห ซึ่งสามารถสื่อสารกันได้ นราธิวาสและกลันตัน มีทั้งวัดและมัสยิด และบางคนยังมีญาติพี่น้องอยู่ในสองพื้นที่และมีการเดินทางไปเยี่ยมเยียนกันอยู่เนืองนิจ และมีการค้าชายแดนมูลค่าเป็นพันล้านบาทต่อปี มีอำเภอติดต่อกันถึง ๔ อำเภอ ดังนี้
- อำเภอตากใบ     ติดกับ อำเภอตุมปัต
- อำเภอสุไหงโก-ลก     ติดกับ อำเภอปาเซมัส
- อำเภอแว้ง     ติดกับ อำเภอตาเน๊าะแมเร๊าะ
- อำเภอสุคิริน     ติดกับ อำเภอเยอลี
เรามีด่านถาวรถึง ๓ ด่าน ยกเว้นอำเภอสุคิริน-อำเภอเยอลี ยังไม่มีด่านถาวร แต่ก็เคยมีด่านชั่วคราว และจะเป็นการดี  หากได้มีการเปิดด่านที่ ๔ ระหว่างอำเภอสุคิริน - อำเภอเยอลี อีกด่านหนึ่ง
ฉะนั้น ที่ผ่านมามีการเชื่อมสัมพันธ์อันดีระหว่างพี่น้องทั้งสองพื้นที่ โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้า เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิชาการซึ่งกันและกัน ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยใช้สื่อในการสร้างความสัมพันธ์อันดีของพี่น้องทั้งสองพื้นที่ และรวมถึงการค้าขายตามแนวชายแดน ในขณะนี้ จังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตันมีประตูค้าขายชายแดนถึงสามประตูเพื่อพัฒนาอำนวยความสะดวกในการเดินทางติดต่อค้าขาย และส่งเสริมการท่องเที่ยว และการลงทุน โดยเฉพาะการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับจังหวัดนราธิวาสเองมี Positioning หรือจุดยืนของจังหวัดนราธิวาส คือ เป็นประตูการค้าชายแดน  และสำหรับจังหวัดนราธิวาส ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานร่วมระหว่างรัฐกลันตันและจังหวัดนราธิวาส เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้า/ผลิตภัณฑ์ และระบบการตลาด OTOP (One Tambon One Product) ของจังหวัดนราธิวาส กับ SDSI (Satu Daerah Satu Industri) ของรัฐกลันตัน ร่วมกัน ตามมติที่ประชุมร่วมระหว่างคณะอนุกรรมการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดนราธิวาส และผู้แทน SDSI (Satu Daerah Satu Industri) ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ล่าสุด เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุม หลวงปริวรรตวรวิจิตร ชั้น ๔ ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส สำหรับผู้แทนของกลันตันที่เข้าร่วมประชุม ได้แก่
1. Mr.Azran bin Hj. Deraman    Director of MITI Kelantan
2. Mr. Azunaiadey bin Bakar    Deputy Director of MARA Kelantan
3. Mr. Mohd Azam bin Jamaluddin    Senior Assistant Director of MARA Kelantan
4. Mr. Wan Ismail bin Wan Yusof    Senior Superintendent of Royal Customs of Malaysia, Kelantan Regional Office
5. Miss Murnizawati binti Mohamad Ripin    MITI Kelantan Officer
6. Miss Siti Nur Azmarinda bitnti Roslan    MITI Kelantan Officer
7. Mr.Hamat Kamel bin Dollah    Kelantan Coordinator

ที่ประชุมได้กำหนดให้มีการจัดตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการตลาดผลิตภัณฑ์ของจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตันขึ้น เพื่อประสานการดำเนินงานด้านการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์และระบบการตลาดระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย นั้น  จังหวัดนราธิวาส ได้แต่งตั้งคณะทำงานแล้ว ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้
๑.    คณะที่ปรึกษา
๑.๑ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส
๑.๒ ประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส
๑.๓ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส
๒.    คณะทำงาน
๒.๑  รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส (นายสิทธิชัย  ศักดา)    ประธานคณะทำงาน
๒.๒  หัวหน้าสำนักงานจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๓  นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส     คณะทำงาน
๒.๔  อุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๕  พาณิชย์จังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๖  ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๗ เกษตรจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๘ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๙  ประธานหอการค้าจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๑๐ ประธานเครือข่าย OTOP จังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๑๑ ประชาสัมพันธ์จังหวัดนราธิวาส    คณะทำงาน
๒.๑๒ พัฒนาการจังหวัดนราธิวาส    คณะทำงานและเลขานุการ
๒.๑๓ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน    คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ       

โดยให้มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
๑. กำหนดแนวทางในการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP และเสนอต่อคณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส
๒. จัดทำแผนงานและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส (OTOP) ร่วมกับ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๓. จัดทำระบบฐานข้อมูลเครือข่ายของผู้ผลิต และประเภทผลิตภัณฑ์ของจังหวัดให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้งในจังหวัดนราธิวาส และรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๔. เป็นศูนย์กลางการประสานงานในการสนับสนุนส่งเสริมโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนราธิวาส
๕. ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๖. ประสานงานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และรายงานต่อคณะอนุกรรมการ นตผ.จังหวัดนราธิวาส ทราบทุกระยะ
๗. แก้ไขปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน และบูรณาการแผนงาน/โครงการระหว่างจังหวัดนราธิวาส กับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อสร้างพื้นฐานให้เชื่อมต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
๘. ประสานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการผลิต การตลาด ระหว่างผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ของจังหวัดนราธิวาสและ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกัน
๙. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่คณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส มอบหมาย

ผม นายอภินันท์ ซื่อธานุวงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ได้ให้ความสำคัญกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน เป็นอย่างมาก และได้อนุมัติงบประมาณตามยุทธศาสตร์จังหวัดนราธิวาส โครงการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนและผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP จังหวัดนราธิวาส โดยมอบหมายให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนราธิวาส ดำเนินการกิจกรรมจำหน่าย OTOP และผลิตภัณฑ์ชุมชน ร่วมกับ SDSI ของกลันตัน และให้มีการสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ประเทศมาเลเซีย งบประมาณทั้งสิ้น ๑,๗๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านเจ็ดแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) โดยใช้การแสดงและจำแหน่ายสินค้า OTOP และ SDSI เป็นเครื่องมือในการเชื่อมสันถวไมตรีในครั้งนี้

[๒. วัตถุประสงค์]
วัตถุประสงค์ของ“การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน”
๑. เพื่อให้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และ SDSI ได้เผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ของนราธิวาส และ SDSI ของมาเลเซีย ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านชายแดน
๒. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้า OTOP และ SDSI และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และ SDSI ให้มีโอกาสทางการตลาดมากขึ้น สามารถส่งสินค้าไปขายยังจังหวัดอื่น ๆ ในประเทศไทย และรัฐอื่น ๆ ในประเทศมาเลเซีย รวมทั้งสามารถส่งสินค้าไปขาย ณ ต่างประเทศได้
๓. เพื่อสนับสนุนและพัฒนาให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และ SDSI ได้เรียนรู้ทักษะด้านการบริหาร    จัดการ อาทิเช่น การผลิต การบรรจุภัณฑ์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และระบบการตลาด รวมทั้งกฎหมายหรือข้อปฏิบัติของทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะขั้นตอนวิธีการรับใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) มาตรฐานฮาลาล และพิธีการทางศุลกากรหรือการผ่านแดน
๔.    สามารถให้ผู้ประกอบการและผู้จำหน่ายสินค้าเข้ามาเจรจาธุรกิจ
๕. ส่งเสริมความสัมพันธ์ด้านการค้าและความร่วมมือระหว่างประเทศ 

[๓. รูปแบบของการจัดงาน]
รูปแบบของการจัดงาน “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ณ ศูนย์การค้า KB Mall ระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ในครั้งนี้ เราจะจัดให้มี
๑. การแสดงและจำหน่ายสินค้าร่วมกันระหว่างนราธิวาส-กลันตัน ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๔๐ บูธ  ซึ่งผู้ประกอบการกลันตัน จะร่วมจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๑๐ บูธ  และผู้ประกอบการนราธิวาส จะจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๓๐ บูธ 
๒. การเจรจาทางธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการและผู้จำหน่ายสินค้านราธิวาสและกลันตัน
๓. การแสดงศิลปวัฒนธรรมร่วมกัน
๔. การจัดบูธให้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานอาหารและยา (อ.ย.) มาตรฐานฮาลาล ของทั้งสองฝ่ายมาให้คำปรึกษา แนะนำ

ผมขอเชิญชวน พ่อ แม่ พี่ น้อง ชาวมาเลเซียและผู้สนใจทั่วไป  ได้เข้ามาเยี่ยมชม ร่วมกันซื้อ สินค้า OTOP ของจังหวัดนราธิวาส และ SDSI ของกลันตัน รวมทั้งเข้ามาเจรจาทางธุรกิจและสอบถามการออกใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานฮาลาล หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ในเทศกาลการแสดงและจำหน่ายสินค้า เพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ที่จะร่วมกันจัดขึ้น ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ 

[๔. แผนการดำเนินงาน]
นอกจากนี้ จังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน จะร่วมกันจัดแสดงและจำหน่ายสินค้าของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย โดยมีหน่วยงาน MITI Kelantan ร่วมกับหน่วยงาน MARA Kelantan ณ ศูนย์การค้า Big C Extra  อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย ในระหว่างวันที่ ๖-๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ จำนวน  ๔๐ ซึ่งผู้ประกอบการนราธิวาสจะร่วมจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๑๐ บูธ  และผู้ประกอบการกลันตัน จะจัดบูธแสดงและจำหน่ายสินค้า จำนวน ๓๐ บูธ 

และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของ“การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ในระยะยาว ก็จะมีการดำเนินการในส่วนของจังหวัดนราธิวาส ดังต่อไปนี้
๑. จะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างคณะทำงานร่วมระหว่างรัฐกลันตันและจังหวัดนราธิวาส เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้า/ผลิตภัณฑ์ และระบบการตลาด OTOP (One Tambon One Product) ของจังหวัดนราธิวาส กับ SDSI (Satu Daerah Satu Industri) ของรัฐกลันตัน เพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ และการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP และเสนอต่อคณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส และรัฐบาลไทย และเสนอต่อผู้ที่เกี่ยวข้องของทางการมาเลเซีย
๒. จัดทำแผนงานและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์จังหวัดนราธิวาส (OTOP) ร่วมกับ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๓. จัดทำระบบฐานข้อมูลเครือข่ายของผู้ผลิตและประเภทผลิตภัณฑ์ของจังหวัด ให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้งในจังหวัดนราธิวาส และรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๔. จัดให้มีศูนย์กลางการประสานงานในการสนับสนุนส่งเสริมโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนราธิวาส ร่วมกับโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของรัฐกลันตัน
๕. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย 
๖. ประสานงานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกัน ระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และรายงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้องของทั้ง ๒ ฝ่าย ทราบทุกระยะ
๗. ร่วมกันแก้ไขปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน และบูรณาการแผนงาน/โครงการระหว่างจังหวัดนราธิวาส กับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพื่อสร้างพื้นฐานให้เชื่อมต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนร่วมกัน
๘. ประสานการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันทางด้าน การผลิต การบรรจุภัณฑ์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการตลาด ระหว่างผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ของจังหวัดนราธิวาสและ SDSI ของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย
๙. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ผู้ที่เกี่ยวข้องของทั้ง ๒ ฝ่าย เห็นชอบและก่อให้เกิดผลดีของการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตันในอนาคต

ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชนทั้งมาเลเซียและไทย ในวันนี้ อันจะนำไปสู่การดำเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้กำหนดไว้และเห็นผลเป็นรูปธรรม ซึ่งจะทำให้ พ่อ แม่ พี่ น้อง ชาวมาเลเซีย และชาวไทย มีความสัมพันธ์อันดียิ่ง ๆ ขึ้นไป โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ พร้อมกัน

และท้ายนี้ เพื่อให้เห็นถึงการดำเนินกิจกรรมที่เป็นปฐมฤกษ์ ขอเชิญชวน พ่อ แม่ พี่ น้อง ชาวมาเลเซียและผู้สนใจทั่วไป ได้เข้ามาเยี่ยมชม ร่วมกันซื้อ สินค้า OTOP ของนราธิวาส และ SDSI ของกลันตัน หรือมาร่วมเจรจาทางธุรกิจ และสอบถามการออกใบอนุญาตมาตรฐานอาหารและยา มาตรฐานฮาลาล หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ในเทศกาลการแสดงและจำหน่ายสินค้า เพื่อการค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน ปี ๒๕๕๖ ที่จะร่วมกันจัดให้มีขึ้น ณ ศูนย์การค้า KB Mall เมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในระหว่างวันที่ ๑-๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ อีกครั้งหนึ่ง

ขอขอบคุณผู้สื่อข่าว คณะจากมาเลเซียและไทย ที่มาร่วมงานแถลงข่าว “การค้าและสานสัมพันธ์นราธิวาส-กลันตัน” ณ สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู  รัฐกลันตัน  ประเทศมาเลเซีย ในวันนี้ ซึ่งขอขอบคุณท่านกงสุลใหญ่ไทย ณ เมืองโกตาบารู ท่านจักรกฤษณ์ กาญจนศูนย์ ที่อนุญาตให้ใช้สถานที่ มา ณ โอกาสนี้ด้วย
ขอบคุณครับ
สวัสดีครับ

---------------------------------------------------------------------


(DRAFT)
Press Conference Script
by Mr. Apinun Suetanuwong, H.E. Governor of Narathiwat
Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship
at Royal Thai Consulate-General in Kota Bharu, Kelantan, Malaysia
on Thursday, 18th April 2013, 10.00 a.m.
-----------------------


Very good morning
Your Excellency
Mr.Azran Bin Haji Deraman, Director of MITI Kelantan regional office and delegation from Kelantan, Malaysia or in other words MITI Kelantan Director.
MARA Kelantan delegates
The Delegation from Kelantan, Malaysia
Mr. Consul General of Thailand in Kota Bharu,
Mutual committee for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship
All of honorable chief executive officers, Entrepreneurs, NGOs, and the Media
Ladies and Gentlemen

I Mr. Apinun Suetanuwong, The Governor of Narathiwat on behalf of Narathiwat people would like to tell you that today we are so glad and delightful to join the press conference for "Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship" at Royal Thai Consulate-General in Kota Bharu, Kelantan, Malaysia, together with MITI Kelantan and MARA Kelantan to both Malaysian and Thai media.
It is a good initiative to course trade and relationship between Narathiwat and Kelantan. Sharing the trade is building the strong relation. This will lead to the concrete implementation of activities in the future. Malaysian and Thai relationship will come closer and closer. In particular, we are both preparing to enter the ASEAN Community in 2015. I think that "Narathiwat has the potential for Kelantan and Kelantan has the potential for Narathiwat in both side developments vice versa".
On this occasion of the initial activity, I would like to invite Malaysian people and honorable guests to visit and buy the products of Narathiwat and Kelantan or OTOP and SDSI. In Thailand, OTOP stands for One Tambon One Product, and in Malaysia, SDSI stands for Satu Daerah Satu Industry. Or attend for business matching and ask for Food and Drug, and Halal licenses or other matters relating to Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship in Product Display and Distribution for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship 2013, to be held on KB Mall, Kota Bharu, Kelantan, Malaysia, on 1st - 5th May 2013.

 [1.Concept Idea]
Narathiwat and Kelantan are neighboring areas and have similar traditions, unless different official languages. Thai language is used in Narathiwat but Bahasa Malaysia and English is used in Kelantan. But in fact, we use the same dialect, not only Melayu but also Thai in Che'hey accent, so we can communicate each other in our dialects. There are Muslim mosques and Buddhist temples in the both areas. And some of the locals have relatives in the both areas and they often visit each other. We have bordering trade worth thousand millions baht per year and we have 4 bordering districts as follows:
- Takbai and Tumpat
- Sungai-kolok and Pasir Mas
- Waeng and Tanah Merah
- Sukhirin and Jeli
There are three permanent checkpoints except Sukhirin - Jeli and it is beneficial, if we can reopen the 4th checkpoint in Sukhirin–Jeli too.

Actually in the past people of these two areas had good bonding between each other, especially exchange of the culture, promotion and development of the relationship on Trade, Economy, Culture, and Academy. under the joining strategy framework we can develop Thai and Malaysian bordering areas through the good relationship of people, include bordering trade. Nowadays Narathiwat and Kelantan have three trading gates for the development and facilitation of trade, tourism promotion, and investment. especially the preparation of the development for ASEAN Community 2015, and in accordance with Narathiwat which is The Gate of bordering trade province. Then we refer to minutes of Narthiwat-Kelantan Trade and Relationship Preparation on Tuesday, 9th April 2013 in Luang Pariwat Meeting Room, 4th floor, Narathiwat Provincial Hall. The representative attendees from Narathiwat and Kelantan would like to set up a Mutual Committee for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship for OTOP-SDSI's product, packaging, and marketing promotion and development in  Narathiwat and Kelantan together. For Kelantan delegation along with:
1. Mr. Azran bin Hj. Deraman                   Director of MITI Kelantan
2. Mr. Azunaiadey bin Bakar                     Deputy Director of MARA Kelantan
3. Mr. Mohd Azam bin Jamaluddin           Senior Assistant Director of MARA Kelantan
4. Mr. Wan Ismail bin Wan Yusof              Senior Superintendent of Royal Customs of Malaysia, Kelantan Regional Office
5. Miss Murnizawati binti Mohamad Ripin      MITI Kelantan Officer
6. Miss Siti Nur Azmarinda bitnti Roslan MITI Kelantan Officer
7. Mr. Hamat Kamel bin Dollah                Kelantan Coordinator


Now, I have set up a Mutual Committee for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship, Narathiwat Part. Hereinafter:  
1. Mentors
1.1       Governor of Narathiwat
1.2       Consul-general of Thailand in Kota Bharu, Kelantan
1.3 Chairman of Narathiwat Islamic Council
1.4 Chief Executive of Narathiwat Provincial Administration Organization
2. Working group
2.1 Vice Governor of Narathiwat (Mr. Sittishai Sakda)   Chairman
2.2 Chief of Narathiwat Governor's Office                       Member
2.3 Chief of Narathiwat Public Health Office                   Member
2.4 Chief of Narathiwat Industrial Office                         Member
2.5 Chief of Narathiwat Commercial Office                     Member
2.6 Chief of Narathiwat Commercial Office                     Member
2.7 Chief of Narathiwat Agricultural Office                      Member
2.8 Chairman of Narathiwat Board of Industry               Member
2.9 Chairman of Narathiwat Chamber of Commerce       Member
2.10 Chairman of Narathiwat OTOP Network                 Member
2.11 Chief of Narathiwat Public Relationship                  Member
2.12 Chief of Narathiwat Community Development Office       Member and Secretary
2.13 Head Division of Promotion for Community Development
                                                                                         Member and Assistant Secretary

Authority and Function
1. Guidelines for product, packaging, and marketing promotion and development to the Narathiwat OTOP sub-committee
2. Planning and activity making for strengthen the Narathiwat OTOP (One Tambon One Product together with Kelantan SDSI (Satu Daerah Satu Industri)
3. Data-based Making for Entrepreneurs and Kind of Products in Narathiwat and link to Kelantan's data-based together.
4. Supporting centre and co-coordination of OTOP project in Narathiwat
5. Be Public Relationship for knowledge understanding and disseminating for Narathiwat and Kelantan product development
6. Coordinating, monitoring, and evaluating of Narathiwat and Kelantan products and reporting to the Narathiwat OTOP sub-committee periodically.
7. Problem and obstacle Resolving, and integrating for Planning, programming and project of Narathiwat and Kelantan for joining base of both community products 
8. Activity coordinating among OTOP and SDSI entrepreneurs accord to products' marketing and processing and their relationship 
9. Performing other tasks as assigned by Narathiwat OTOP sub-committee

I Mr. Apinun Suetanuwong, The Governor of Narathiwat recognize the importance of the Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship and Narathiwat – Kelantan enormously. And I  have approved budget for Narathiwat Strategy on community product enterprise and One Tambon One Product development and promotion of Narathiwat Community Development Office for community product enterprise and One Tambon One Product to join distribution with SDSI amount 1,750,000 Baht (One million seven hundred and fifty thousand Baht) as a tool of good relationship in this time.

[2. Objective]
Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship Objective as a follows:
1. OTOP and SDSI Entrepreneur can disseminate and exchange their knowledge and local wisdom on OTOP’s Narathiwat and SDSI’s Kelantan like the neighboring borders.
2. To increase outlet of OTOP and SDSI products distribution and to increase community, OTOP and SDSI Entrepreneurs incomes and to provide market chances and to distribute their product to other provinces of Thailand, other states of Malaysia, until to other countries over the world.
3. To support and develop OTOP and SDSI entrepreneurs for learning about management skill for example production, packaging, advertisement, market system, including law and protocol of both countries, especially in Food and Drug, Halal licenses procedures, and Customs protocol and crossing the border procures
4. To make the business matching between entrepreneurs and distributers or dealers
5. To promote Trade and International Relations

[3. The format of this event]
The format of this event of Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship at KB Mall on 1st-5th May 2013, we would like to present:
1.  Product of Narathiwat and Kelantan display and distribution at KB Mall, Kota Bharu, Kelantan, Malaysia on 1st-5th May 2013 with 40 booths that Kelantan will share 10 booths and 30 booths for Narathiwat
2. To make the business matching between entrepreneurs and distributers or dealers
3. Art and cultural performances together.
4. A Consultant booth for relevant standards of food, drug, halal licenses and its procedures

Once again I would like to invite Malaysian people and honorable guests visit and buy the products of Narathiwat and Kelantan or OTOP and SDSI. Or attend for business matching and asking for Food and Drug, and Halal licenses or other matters relating to Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship in Product Display and Distribution for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship 2013, to be held on KB Mall, Kota Bharu, Kelantan, Malaysia, on 1st – 5th May 2013.

[4. Operational plan]
In addition, Narathiwat and Kelantan will join Kelantan products display and distribution by MITI Kelantan and MARA Kelantan at Big C Extra, Hatyai, Songkhla, Thailand on 6th – 9th June 2013 with 40 booths that Narathiwat will share 10 booths and 30 booths for Kelantan.

And for long-term objective achievement of Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship, in part of Narathiwat, we would like to do as follows:
1. Will arrange a meeting for the Narathiwat-Kelantan Mutual Committee for Product Development and Marketing Promotion to guide the OTOP and SDSI product, packaging, and marketing promotion and development to the Narathiwat OTOP sub-committee, Thai government and Malaysia officials and government
2. Planning and activity making for strengthen the Narathiwat OTOP (One Tambon One Product together with Kelantan SDSI (Satu Daerah Satu Industri)
3. Data-based making for Entrepreneurs and Kind of Products in Narathiwat and link to Kelantan’s data-based together.
4. Be supporting centre and coordination of OTOP project in Narathiwat which work according to Kelantan projects
5. Be Public Relationship for knowledge understanding and disseminating for Narathiwat and Kelantan product development
6. Coordinating, monitoring, and evaluating of Narathiwat and Kelantan products and reporting to the both officials periodically.
7. Problem and obstacle Resolving, and integrating for Planning, programming and project of Narathiwat and Kelantan for joining base of both community products 
8. Activity coordinating among OTOP and SDSI entrepreneurs accord to products’ marketing and processing and their relationship 
9. Performing other tasks as assigned by both officials and it causes for good effectiveness of Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship in the next future.
Today I sincerely hope that to join the press conference for “Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship at Royal Thai Consulate-General in Kota Bharu, Kelantan, Malaysia, together with MITI Kelantan and MARA Kelantan to both Malaysian and Thai media. Will cause a deep relationship between Malaysian and Thai people, especially for the preparation of ASEAN Community in 2015.
Last but not the least on this occasion of the initial activity, I would like to invite Malaysian people and honorable guests to visit and buy the products of Narathiwat and Kelantan or OTOP and SDSI. Or attend for business matching and asking for Food and Drug, and Halal licenses or other matters relating to Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship in Product Display and Distribution for Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship 2013, to be held on KB Mall, Kota Bharu, Kelantan, Malaysia, on 1st – 5th May 2013.
We appreciate the media, Malaysian and Thai delegations today who joined the press conference for “Narathiwat-Kelantan Trade and Relationship” at Royal Thai Consulate-general in Kota Bharu, Kelantan. We would like to say many thanks for Consul-general in Kota Bharu, Kelantan, Mr. Jackrid Kanjanasoon who allowed Royal Thai Consulate-general in Kota Bharu for this press conference

Thank you very much and Sawasdee Krub.