วันพุธที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555

เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ (หัวหน้าฝ่ายอำนวยการ)

จังหวัด เบอร์โทรติดต่อ จังหวัด เบอร์โทรติดต่อ จังหวัด เบอร์โทรติดต่อ
กระบี่ 081-753-9352 บึงกาฬ 081-823-4758 ลพบุรี 081-822-4961
กาญจนบุรี 081-755-1824 บุรีรัมย์ 081-821-2826 เลย 081-822-5054
กาฬสินธุ์ 081-802-1017 ปทุมธานี 081-821-4023 ลำปาง 081-822-5624
กำแพงเพชร 081-812-3354 ประจวบฯ 081-821-4916 ลำพูน 081-822-5798
ขอนแก่น 081-819-7149 ปราจีนบุรี 081-821-5983 ศรีสะเกษ 081-822-5870
จันทบุรี 081-819-8547 ปัตตานี 081-821-6746 สกลนคร 081-822-6728
ฉะเชิงเทรา 081-819-8794 พระนครศรีอยุธยา 081-821-8761 สงขลา 081-822-7109
ชลบุรี 081-819-9643 พะเยา 081-822-0368 สตูล 081-822-9240
ชัยนาท 081-820-0367 พังงา 081-822-0583 สมุทรปราการ 081-822-9361
ชัยภูมิ 081-820-0641 พัทลุง 081-822-0831 สมุทรสาคร 081-822-9504
ชุมพร 081-820-1291 พิจิตร 081-822-0924 สมุทรสงคราม 081-822-9573
เชียงราย 081-820-1489 พิษณุโลก 081-822-1482 สระแก้ว 081-822-9624
เชียงใหม่ 081-820-1864 เพชรบุรี 081-822-1675 สระบุรี 081-822-9685
ตรัง 081-820-2716 เพชรบูรณ์ 081-822-1893 สิงห์บุรี 081-822-9830
ตราด 081-820-2936 แพร่ 081-822-3069 สุโขทัย 081-823-0021
ตาก 081-820-3138 ภูเก็ต 081-822-3481 สุพรรณบุรี 081-823-0175
นครนายก 081-820-3317 มหาสารคาม 081-822-3712 สุราษฎร์ธานี 081-823-0356
นครปฐม 081-820-3586 มุกดาหาร 081-822-3967 สุรินทร์ 081-823-0742
นครพนม 081-820-4003 แม่ฮ่องสอน 081-822-4085 หนองคาย 081-823-0969
นครราชสีมา 081-820-5963 ยโสธร 081-822-4170 หนองบัวลำภู 081-823-1797
นครศรีธรรมราช 081-820-8351 ยะลา 081-822-4258 อ่างทอง 081-823-2085
นครสวรรค์ 081-820-9176 ร้อยเอ็ด 081-822-4319 อำนาจเจริญ 081-823-2403
นนทบุรี 081-820-9504 ระนอง 081-822-4652 อุดรธานี 081-823-2557
นราธิวาส 081-820-9924 ระยอง 081-822-4698 อุตรดิตถ์ 081-823-2776
น่าน 081-821-1871 ราชบุรี 081-822-4865 อุทัยธานี 081-823-3415
อุบลราชธานี 081-823-4018

วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน



Kelantan latih pasukan kriket di Selatan Thailand Monday,

Persatuan Kriket Melayu Malaysia
(Malay Cricket Association of Malaysia)
2512, Jalan Bukit Petaling, 50460 Kuala Lumpur, Malaysia
Tel: +603.21450000 / +603.21452222 Fax: +603.21454444

25 June 2012 20:11
ANTARA ahli Kriket Kelantan yang menyertai mesyuarat agung tahunan di Tanah Merah pada 23 Jun 2012. Turut sama ialah Pengelola Kriket Pattani, Thailand, Azmi Kadir (barisan depan, dua dari kanan).TANAH MERAH - Permainan kriket di wilayah Pattani di Thailand akan dikembangkan secara menyeluruh apabila Persatuan Kriket Kelantan membuat keputusan menghantar jurulatih bermula Oktober ini. Ketetapan ini dibuat sewaktu mesyuarat agung tahunan Kriket Kelantan di sini pada 23 Jun 2012 yang dipengerusikan oleh presidennya, Datuk Azmi Mohd. Ali. Pengelola Kriket Pattani, Azmi Kadir turut hadir pada mesyuarat berkenaan di Pejabat Tanah dan Jajahan Tanah Merah dan telah memberikan penjelasan panjang lebar mengenai perkembangan sukan berkenaan wilayah itu. "Kami akan mula menghantar jurulatih Oktober ini dan ia akan dilakukan secara berperingkat-peringkat. "Kami juga akan membantu mengendalikan beberapa sesi kursus kejurulatihan kepada jurulatih di sana bersama Persatuan Kriket Thailand yang berpusat di Bangkok," kata Presiden Kriket Kelantan itu. Tiga bulan lepas, Kriket Thailand telah mengadakan perbincangan dengan Persatuan Kriket Melayu Malaysia mengenai sokongan kejurulatihan ke dua wilayah di Selatan Thailand; Pattani dan Yala setelah kriket sudah mula diperkenalkan tetapi masih kurang sambutan. Ketua Eksekutif Kriket Thailand, Mohideen A. Kader telah mengadakan tiga sesi perbincangan dengan wakil Kriket Melayu di Kuala Lumpur dan Bangkok dan bersepakat Kriket Kelantan akan membantu dari dekat kerana hanya mengambil masa tiga jam dari sempadan Rantau Panjang-Sungai Golok untuk ke kedua-dua wilayah berkenaan. Kriket Kelantan memiliki ramai pemain kriket remaja berkualiti dan setakat ini 21 pemainnya berada dalam program Projek Kriket Nasional di Sekolah Menengah Kebangsaan Tinggi Kajang (Selangor), SMK Penang Free (Pulau Pinang), SMK Victoria dan SMK Segambut Jaya (Kuala Lumpur). "Kami yakin pencapaian pemain di wilayah ini akan meningkat apabila sokongan kejurulatihan diperkemaskan. "Kami juga tidak akan menghadapi masalah kerana kedua-dua wilayah dapat bertutur dalam bahasa Melayu Kelantan dengan fasih." kata Azmi.
ANTARA ahli Kriket Kelantan yang menyertai mesyuarat agung tahunan di Tanah Merah pada 23 Jun 2012. Turut sama ialah Pengelola Kriket Pattani, Thailand, Azmi Kadir (barisan depan, dua dari kanan). ANTARA ahli Kriket Kelantan yang menyertai mesyuarat agung tahunan di Tanah Merah pada 23 Jun 2012. Turut sama ialah Pengelola Kriket Pattani, Thailand, Azmi Kadir (barisan depan, dua dari kanan).

อ้างถึง: เว็บไซต์ Kriket Melayu Malaysia

วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555

วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555

บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ รับรางวัลหมู่บ้านต้นแบบสารสนเทศฯ

บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ รับรางวัลหมู่บ้านต้นแบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ หมู่ที่ ๑๓ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน ได้รับคัดเลือกระดับภาคใต้ เป็นหมู่บ้านต้นแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต จากกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
เยี่ยมชมหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ ผ่านเว็บไซต์หมู่บ้าน บล็อก และเฟสบุ๊คส์ ได้ที่
1. http://chulabhorn12.kampong.info/
2. http://banchula12.blogspot.com/
3. https://www.facebook.com/Banchulabhorn12
4. https://www.facebook.com/ban.chulabhorn
---------------------------------------------------------------------------------------
Chulabhorn Pattana 12 Village has been rewarded on Village Information Management Prototype for Quality of live Development in Region of Thailand level by Community Development Department, Ministry of Interior, Thailand
So, you can visit this village’s website, blog, and facebook:
1. http://chulabhorn12.kampong.info/
2. http://banchula12.blogspot.com/
3. https://www.facebook.com/Banchulabhorn12
4. https://www.facebook.com/ban.chulabhorn

วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555

นายกฯ หารือนายกฯ มาเลย์ ถกปัญหา 3 จังหวัดใต้

วันเสาร์ ที่ 8 กันยายน พ.ศ.2555 

นายกรัฐมนตรีของไทยได้ใช้โอกาสที่เดินทางไปร่วมประชุม APEC ที่รัสเซีย หารือกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย เกี่ยวกับสถานการณ์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อยืนยันว่า การสร้างสถานการณ์ของคนร้ายจะไม่กระทบความสัมพันธ์ของทั้ง 2 ประเทศ


นาง สาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการหารือทวิภาคีกับนายนาจีบ ราซัค นายกรัฐมนตรีมาเลเซียว่า นายกรัฐมนตรีมาเลเซียยืนยันจะให้ความร่วมมือที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกันตามแนว ทางสันติวิธี และนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการตรวจสอบ เพื่อสร้างความปลอดภัยในพื้นที่ โดยจะไม่ให้กรณีที่มีการนำธงชาติมาเลเซียไปปักในที่เกิดเหตุความไม่สงบ มากระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 2 ประเทศ

นอกจากนี้ทั้ง 2 ประเทศยังเห็นตรงกันว่า ปัญหาบุคคล 2 สัญชาติ เป็นประเด็นที่ต้องหยิบยกขึ้นมาหารืออย่างเร่งด่วนในการประชุมคณะกรรมาธิการ ร่วมไทย - มาเลเซีย ที่ประเทศมาเลเซียในเดือนตุลาคมนี้


ซึ่ง ปัญหาภาคใต้นี้ ก็เป็นประเด็นที่นายกรัฐมนตรีหยิบยกขึ้นมาพูดคุยในรายการ "รัฐบาลยิ่งลักษณ์พบประชาชน" วันนี้ด้วย โดยนายกรัฐมนตรี ยอมรับว่า ปัญหาพื้นที่ภาคใต้เป็นเรื่องซับซ้อนและละเอียดอ่อน ต้องใช้เวลาในการแก้ปัญหา โดยน้อมนำพระราชดำรัสเรื่อง "การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา" มาใช้ ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่รัฐก็ต้องทำงานในเชิงรุกในเรื่องการคุ้มครองดูแลความ ปลอดภัยให้ประชาชนผู้บริสุทธิ์ และสร้างรายได้ กระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีความมั่นใจมากขึ้น

ขณะ ที่หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก็ออกมาตำหนิการเสนอแนวคิดเรื่องการเลือกตั้งผู้ว่าฯ โดยตรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง รองนายกรัฐมนตรี เพราะเห็นว่า จะยิ่งทำให้เกิดความสับสน และหากคนในพื้นที่ออกมาเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าฯ โดยตรงจริงๆ จะกลายเป็นปัญหาให้รัฐบาลเอง พรรคประชาธิปัตย์เห็นด้วยกับการกระจายอำนาจให้ประชาชนในท้องถิ่นได้บริหาร จัดการตัวเอง แต่เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ที่ควรใช้เวทีสภาฯหารือให้ตกผลึก และได้แนวทางที่ชัดเจนก่อนออกมาพูด

อ้างถึง: ข่าวช่อง 3

 

วันเสาร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2555

ประชุมเยาวชน @LDI ปัตตานี 18 Sep 2012


[งานของตัวเราเอง]

กลุ่มมะโนราห์
กลุ่มหมากแดง ทำดนตรี อนุรักษ์ธรรมชาติ เข้าวัดปฏิบัติธรรม
กลุ่มตะลิ้งปิ้ง จัดกิจกรรมให้กับเด็ก เก็บขยะ ปลูกต้นไม้
กลุ่มรักป่าและนกเหงือก จากั๊วะ
รักกูนุงนอกชาน กิจกรรมรักป่าบูโด ดูแลธรรมชาติ ผาหินกูนุงนอกชาน
เครือข่ายเยาวชนสู่อาเซียน
เยาวชนใจอาสา (๗ ปีมาแล้ว) เยี่ยมผู้ถูกกระทบจากเหตุการณ์ ปัจจุบันทำงานเล็ก ๆ  ก่อนหน้าเป็นผู้ใหญ่ และมีผู้หญิงเข้ามา ตอนหลังมีผู้หญิงเข้ามาร่วมมากขึ้น ต่อมาเพื่อนที่มาช่วยก็จะกระจาย
กลุ่มต้มยำ แสดงละคร
กลุ่มนักคิดนักพัฒนา  แพทย์ หมอ ครู ตำรวจ ทหาร ลงทำงานตามชุมชน บรรยายเรื่องสุขภาพ ส่งเสริมอาชีพ ให้ชุมชนรักษาการทำงานเป็นทีม
กลุ่มบูรงบารง


๑) สภาพความเป็นเครือข่ายและการทำงานลักษณะเครือข่ายของกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ ๓ จังหวัด อิงประเด็น/อิงพื้นที่
เท่าที่สังเกตกลุ่มเยาวชนสามารถทำงานใน Set ของตนเองได้ดีกว่ามาทำงานเป็นเครือข่าย
อาจเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมองค์กรของเขาที่แตกต่างกันก็เป็นไปได้

แล้วอย่าลืมว่าเครือข่ายทำงานได้ดีเพียงแค่ ๓ อย่างเท่านั้น คือ
๑) สร้างพลังในการต่อรอง ๒) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ๓) การสนับสนุนซึ่งกันและกัน
สำหรับเครือข่ายแล้ว นั่นคือ เป็นการรวมตัวกันแบบหลวม ๆ เท่านั้น (
รวมจุดเหมือน สงวนจุดต่าง)

Warner: “LINK” stand for (1) Learning (2) Investing (3) Nursing) and (4) Keeping

ซึ่งไม่รู้ว่าคนอื่นเขาคิดอย่างไร ลองสอบถามหลาย ๆ คน ก็จะดี เยาวชนมีความไม่นิ่งในการรวมกลุ่มเหมือนกับกลุ่มสตรี เพราะความผูกพันกับกลุ่มมีค่อนข้างน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มสตรี
แต่กลุ่มเยาวชนที่มีความยั่งยืนต้องมีพี่เลี้ยงเป็นคนบริหารจัดการ โครงการฯหรืออื่น ๆ จึงจะอยู่รอด ลองสังเกตกลุ่มที่ยั่งยืนเหมือนฟ้าใส ก็มีคุณมาเรียม ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ …. รวมทั้งกลุ่มอื่น ๆ ก็จะมีผู้ใหญ่อยู่เบื้องหลังคอย Backup เกือบทั้งหมด


๒) ยุทธศาสตร์การทำงาน (วิธีการ/เครื่องมือ)
การพัฒนาเยาวชน จึงมองไปถึงการพัฒนาอาชีพ หากเป็นกีฬาหรืออื่น ๆ ก็เป็นกีฬาอาชีพ (Learning to do) หรืออะไรก็ตามที่เขาทำได้เป็นอาชีพ ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง และเป็นอาชีพที่ตนเองชอบ
รัฐจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะซึมซับ (absorb) เยาวชนเข้าสู่แหล่งอาชีพหรือตลาดแรงงาน

แต่กระนั้นก็ตาม หากอาชีพที่ไม่มีความมั่นคง เขาก็มักจะเปลี่ยนอาชีพไปเรื่อย ๆ
เพราะบางครั้งดูเสมือนว่า ต้องการค้นหาตัวตนว่า ทำอะไรดีและชอบ จนกว่าจะตั้งหลักปักฐาน
หากไม่สามารถซึมซับเข้าแหล่งอาชีพ เยาวชนก็ต้องอยู่ในสถาบันการศึกษา ก็เพื่อเรียนรู้ในการประกอบอาชีพอีกนั่นแหละ
มีบางคนได้พูดไว้ว่า ณ วันนี้ เยาวชนขออย่าได้ติดยาก็พอ
หากเป็นคนขี้ยาเมื่อไรแล้ว นั่นหมายถึง สมองถูกทำลาย และการพัฒนาอย่างอื่นให้เขาก็จะจบสิ้น
เยาวชน คือ อนาคตของชาติ อย่าได้ทำลายชาติด้วยการทำลายเยาวชนด้วยยาเสพติดเลย

แล้วจะทำอย่างไรกับเยาวชน “พฤติกรรมไม่ปกติ”?

๓) การบริหารจัดการโครงการในพื้นที่ความขัดแย้ง/พื้นที่เปราะบาง ปัญหา อุปสรรค
- ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ โดยผ่านอาสาสมัครในพื้นที่  (เหมือนอาเจะห์)
- ต้องสนับสนุนให้คนในพื้นที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- การทำงานเชิงสังคมควบคู่กับการทำงานด้านเศรษฐกิจ (ปากท้อง)
- คนทำโครงการต้องมีค่าตอบแทนเหมาะสมต่อการครองชีพ
- นักกิจกรรม (ที่เก่ง ๆ ) ไม่ใช่นักบริหารโครงการ หากจะทำโครงการต้องแยกกันระหว่างคน ๒ จำพวกนี้ มิฉะนั้น งานอาจไม่เดิน... เครือข่ายต้องมี Hub 


๔) การเปลี่ยนแปลงและผลที่เกิดขั้นจากการทำงานของกลุ่มเยาวชนและเครือข่ายทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
เยาวชนบางกลุ่มมีความคิดรับผิดชอบสังคมมากขึ้น เกิดจากการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคม (learning to live together)
แต่บางกลุ่มเหมือนกับดิ้นรนให้กับตัวเองอยู่รอด (Learning to be) กำลังแสวงหาความเหมาะสมของชีวิต หรือไม่ก็เรียนรู้ไปเรื่อย ๆ (Learning to know)


ที่ยิ้มได้ “ไม่ใช่ไม่เจ็บ” ความจริง “อักเสบ” แต่เก็บอาการ